เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี
? ปริมาณการจ หน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่
ร้อยละ -16.1 ต่อปี
? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.5 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม ขยายตัวที่ร้อยละ 11.1 เมื่อ
เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? จ นวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
13,379.0 ต่อปี
? ปริมาณการจ หน่ายรถยนต์นั่งในเดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -13.0 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณการจ หน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.9 เมื่อเทียบ
กับช่วงเดียวกันปีก่อน
? มูลค่าการส่งออกในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
เช่นเดียวกับมูลค่าการน เข้า ขยายตัวที่ร้อยละ 24.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.2 ต่อปี
? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 หดตัวที่
ร้อยละ -2.5 ต่อปี
? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 เกินดุล
จ นวน 56,998 ล้านบาท
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
9.6 ต่อปี
? ภาษีจากการท ธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.7 ต่อปี
GDP ออสเตรเลีย ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มิ.ย. 65 หดตัวร้อยละ -0.1 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ
2.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
ดัชนี MPI ในเดือน มิ.ย. 65 อุตสาหกรรมส คัญที่หดตัว ได้แก่อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
อุตสาหกรรมพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า หดตัวร้อยละ -30.6 -15.4
และ -16.7 ต่อปี ตามล ดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมส คัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
การกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและชิ้นส่วน อุตสาหกรรมยานยนต์ ขยายตัวร้อยละ 18.5
21.3 และ 4.3 ต่อปี ตามล ดับ* (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)
ปริมาณการจ หน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก
รวมภายในประเทศเดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ
-16.1 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -4.5 เมื่อเทียบกับ
เดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจ หน่ายเหล็กในประเทศเดือน มิ.ย. 65 หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8 โดยมีปัจจัย
ส คัญมาจากการจ หน่ายเหล็กที่ใช้ในภาคการก่อสร้างที่หดตัวต่อเนื่อง อาทิ เหล็กเส้นข้ออ้อย
เหล็กลวด และเหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อนหดตัวร้อยละ -7.5, -12.8 และ -24.8 ต่อปี
ตามล ดับ จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -24.5, -19.6 และ -20.7 ต่อปี ตามล ดับ
ซึ่งชะลอตามการก่อสร้างเนื่องจากสถานการณ์เงินเฟ้อและต้นทุนการก่อสร้างที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม
ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.5
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.7
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
หลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน
มิ.ย. 65 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัว
ในหมวดพืชผลส คัญที่ร้อยละ 12.5 ขณะที่ผลผลิตใน
หมวดปศุสัตว์หดตัว ที่ร้อยละ -2.8 และหมวดประมง
หดตัวที่ร้อยละ -7.5 โดยสินค้าเกษตรส คัญที่มีผลผลิต
เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา ข้าวโพด ปาล์มน้ มัน
กลุ่มไม้ผล ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไม ขณะที่ผลผลิต
สุกรยังคงปรับลดลง
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม
ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.1
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือคิดเป็นขยายตัวร้อยละ 1.3
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
หลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน
มิ.ย. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวในทุก
หมวดสินค้า โดยหมวดพืชผลส คัญ หมวดปศุสัตว์ และ
หมวดประมงขยายตัวที่ร้อยละ 6.6 27.7 และ 4.6
ตามล ดับ โดยสินค้าเกษตรส คัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่
ยางพารา มันส ปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ มัน ข้าวเปลือก
หมวดปศุสัตว์ และกุ้งขาวแวนนาไม ขณะที่สินค้าที่ราคา
ลดลง ได้แก่ กลุ่มไม้ผล
รายได้เกษตรที่แท้จริง
(หักผลของเงินเฟ้อ
ชุดชนบท) ในเดือน
มิ.ย. 65 ขยายตัว
ที่ร้อยละ 9.6 จาก
ข้าวเปลือก หมวด
ปศุสัตว์ ข้าวโพดเลี้ยง
สัตว์ ปาล์มน้ มัน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
เดือน มิ.ย. 65 จ นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
อย่างมีนัยส คัญ ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศมีแนวโน้มทรงตัวจากการที่สิทธิ์โครงการเราเที่ยวด้วยกัน
ที่หมดลงแล้ว
ในเดือน พ.ค. 65 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
เดินทางเข้าประเทศไทย จ นวน 767,497 คน โดยส่วนใหญ่
เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย อินเดีย สิงคโปร์ เวียดนาม และ
อเมริกากัน ตามล ดับ โดยเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
พบว่า จ นวนนักท่องเที่ยวขยายตัวสูงที่ร้อยละ 13,379.0
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่ อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้วพบว่ายังขยายตัวได้ที่ร้อยละ 17.3 สะท้อนถึง
การขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติ โดย
จ นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากการผ่อน
คลายมาตรการเดินทางเข้าประเทศทั้งของต่างประเทศและประเทศ
ไทย โดยที่ ศบค. ได้มีมติเปิดประเทศอย่างเต็มรูปแบบด้วย
การยกเลิกระบบ Test & Go ส หรับผู้เดินทางที่ได้รับวัคซีน
ครบตามเกณฑ์ ตั้งแต่วันที่ 1 พ.ค. 65 เป็นต้นมา อีกทั้งยังมี
การเปิดด่านทางบกระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งนี้ ระบบ
ลงทะเบียนเข้าประเทศหรือ Thailand Pass ได้มีการถูกยกเลิก
ในวันที่ 1 กค. 65 เป็นต้นไป ซึ่งคาดว่าจะท ให้การเดินทางเข้า
ประเทศไทยสะดวกขึ้น และช่วยดึงดูดให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
มาเที่ยวไทยเพิ่มขึ้น
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจ นวนผู้เยี่ยม
เยือนชาวไทยในเดือน มิ.ย. 65 มีจ นวน 15.7 ล้านคน ลดลง
จากเดือนก่อนเล็กน้อยจากสิทธิโครงการเราเที่ยวด้วยกันที่หมด
ลง แต่เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่าขยายตัวใน
อัตราเร่งที่ร้อยละ 1,115.6 ส่วนหนึ่งมาจาก และปัจจัยฐานต่ จาก
การเริ่มแพร่ระบาดของสายพันธุ์เดลต้าในช่วงเดือน พ.ค. 64
อย่างไรก็ตาม เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ยังขยายตัวได้ที่
ร้อยละ 14.3
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจ หน่ายรถยนต์นั่งในเดือน มิ.ย. 65 มีจ นวน 19,598 คัน หดตัวที่ร้อยละ
-13.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หดตัวที่ร้อยละ -26.0
โดยเป็นผลจากภาคการผลิตยานยนต์ประสบปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ รวมทั้งปัญหาต้นทุน
การผลิตที่ปรับตัวสูงขึ้นตามราคาชิ้นส่วนต่าง ๆ ประกอบกับความเสี่ยงจากการล็อคดาวน์รอบใหม่ของจีน
ท ให้ยอดจองรถยนต์บางส่วนยังไม่สามารถส่งมอบได้ รวมถึงท ให้ปริมาณจ หน่ายรถยนต์ลดลง อย่างไรก็ดี
การผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐ การผ่อนคลายให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศได้สะดวก
มากขึ้น และภาพรวมเศรษฐกิจที่ทยอยฟื้นตัว ส่งผลให้ก ลังซื้อเริ่มมีทิศทางฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ปริมาณการจ หน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 65 มีจ นวน 48,354 คัน ขยายตัวร้อยละ
13.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับ
ผลทางฤดูกาล ตามปริมาณการจ หน่ายรถกระบะ 1 ตัน ที่ขยายตัวร้อยละ 13.4 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
ยอดจ หน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวเร่งขึ้น โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลาย
การล็อกดาวน์และความเข้มงวดการเข้าประเทศ จ นวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพิ่มขึ้น จ นวนนักท่องเที่ยวใน
ประเทศที่เพิ่มขึ้นจากการกระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศผ่านโครงการเราเที่ยวด้วยกัน ท ให้ประชาชนหลาย
ภาคส่วนมีรายได้ดีขึ้น อย่างไรก็ดี ความกังวลเกี่ยวกับเงินเฟ้อและภาระค่าครองชีพที่สูงขึ้น และปัญหาการขาด
แคลนปัจจัยการผลิต เป็นปัจจัยกดดันยอดจ หน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในระยะถัดไป
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน มิ.ย. 65 มีมูลค่าอยู่ที่ 26,553.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัว
ต่อเนื่องอยู่ที่ร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่อง 16 เดือนติดต่อกัน
การส่งออกของไทยหากหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ มันทองค และยุทธปัจจัยขยายตัวที่ร้อยละ 10.4 ทั้งนี้
การส่งออกที่ขยายตัวมาจากสินค้าส คัญ อาทิ เครื่องโทรสารโทรศัพท์ฯ อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวม
ทองค ) ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม เครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรกลและ
ส่วนประกอบ น้ ตาลทราย อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารสัตว์เลี้ยง ข้าว ยางพารา ไก่สด แช่เย็น แช่แข็ง
และแปรรูป กลุ่มผลไม้ เช่น ทุเรียนสด เงาะสด ล ไยสด ล ไยแห้ง ทุเรียนแช่แข็ง เป็นต้น ในส่วนมิติตลาดคู่ค้า
ส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่อง อาทิ ตลาดสหรัฐฯ กลุ่มเอเชียใต้โดยเฉพาะอินเดีย เกาหลีใต้ กลุ่มอาเซียน เป็น
ส คัญ ทั้งนี้ การส่งออกไทยในช่วงครึ่งแรกของปี 65 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 12.7 ต่อปี
มูลค่าการน เข้าในเดือน มิ.ย. 65 มีมูลค่า 28,082.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ
24.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
การน เข้าของไทยในเดือนดังกล่าวขยายตัวจากกลุ่ม
สินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่ง
ส เร็จรูป และสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นหลัก อาทิ
น้ มันดิบ น้ มันส เร็จรูป ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม
ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ
เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์
เคมีภัณฑ์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ปุ๋ย และ
ยาก จัดศัตรูพืชและสัตว์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
เครื่องใช้ไฟฟ้าฯ เป็นต้น ด้านดุลการค้าในเดือน
ดังกล่าว ขาดดุลมูลค่า 1.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยในช่วงครึ่งแรกของปี 65 ดุลการค้าสะสมของ
ไทยขาดดุลอยู่ที่ 6.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 318,302 ล้านบาท
ขยายตัวร้อยละ 15.2 ต่อปี ท ให้ 9 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 2,434,146 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.9
คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 72.9
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 ได้ 291,185
ล้านบาท หดตัวร้อยละ -2.5 ต่อปี ท ให้ 9 เดือนแรกจัดเก็บได้สุทธิ 1,857,526 ล้านบาท ขยายตัว
ร้อยละ 6.4 ต่อปี
8
โดยรายได้สุทธิหดตัวจาก
รายน ส่งจากรัฐวิสาหกิจ
ที่หดตัวร้อยละ -71.9 ต่อปี
รายได้ภาษีสรรพสามิต หดตัว
ร้อยละ -13.7 ต่อปี และรายได้
ภาษิเงินได้นิติบุคคล หดตัว
ร้อยละ -13.4 ต่อปี
ที่มา : กรมสรรพากร ค นวณโดย สศค.
โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้
307,192 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 15.3
ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ
73.2 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่าย
ประจ 266,330 ล้านบาท ขยายตัว
ร้อยละ 22.3 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่าย
สะสมที่ร้อยละ 79.0 และ (1.2) รายจ่าย
ลงทุน 40,862 ล้านบาท หดตัวร้อยละ
-16.0 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสม
ที่ร้อยละ 49.1 (2) รายจ่ายปีก่อน
เบิกจ่ายได้ 11,111 ล้านบาท ขยายตัว
ที่ร้อยละ 12.8 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่าย
สะสมที่ร้อยละ 69.3 ต่อป
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน มิ.ย. ปีงบประมาณ 65 พบว่าดุลเงิน
งบประมาณเกินดุลจ นวน 56,998 ล้านบาท
ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอก
ง บ ป ร ม ณ ที่ เ กิ น ดุ ล
7,380 ล้านบาท แล้วพบว่า
ดุลเงินสดก่ อนกู้เกิ นดุล
64 , 3 78 ล้ น บ ท โด ย
ในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน
126,885 ล้านบาท ท ให้
ดุ ล เ งิ น สุ ด ห ลั ง กู้ เ กิ น ดุ ล
191,263 ล้านบาท ส่งผลให้
จ นวนเงินคงคลังปลายงวด
อยู่ที่ 587,915 ล้านบาท
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
9.6 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2
โดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16 นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64 แบ่งเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้
จ่ายภายในประเทศ หดตัวที่ร้อยละ -5.8 ต่อปี โดยเป็นผลจากปัญหาค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นจากราคา
สินค้า รวมถึงต้นทุนของสินค้าที่เพิ่มขึ้นตามต้นทุนแฝงจากราคาน้ มันและราคาพลังงานที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ดี
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวมากขึ้นจากความกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ที่ลดลง และการเปิดประเทศให้นักท่องเที่ยวเข้ามาสะดวกมากขึ้น ส่งผลให้ก ลังซื้อยังคงทรงตัวจากเดือนก่อน
ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการน เข้ายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 31.3 ต่อปี ตามการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจ และทิศทางการน เข้าของประเทศที่ขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง
ภาษีจากการท ธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.7 ต่อปี
แต่หดตัวร้อยละ -8.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการท ธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวเป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกันเมื่อ
เทียบรายปีที่ร้อยละ 4.7 ต่อปี โดยมีปัจจัยมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศจากการผ่อนคลาย
มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดและการเปิดประเทศ รวมถึงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการ
อสังหาริมทรัพย์ มีส่วนหนุนความต้องการซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคให้ฟื้นตัวต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ปัญหา
ราคาวัสดุก่อสร้างที่เพิ่มสูงขึ้นจากภาวะเงินเฟ้อสูง รวมถึงทิศทางของอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จะเป็น
ปัจจัยกดดันต่อความต้องการซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้ในระยะถัดไป
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และ
ขยายตัวร้อยละ 0.7 จากไตรมาสก่อนหน้า จากปัจจัยการใช้จ่ายของภาครัฐและเอกชน
ที่แข็งแกร่ง
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 86.0 จุด ลดลง 10.4 จุด
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า โดยเป็นระดับที่ต่ สุดนับจาก ก.ค. 63 จากความเชื่อมั่นที่ลดลง
ในส่วนมาตรฐานการครองชีพ มุมมองสภาวะเศรษฐกิจ มุมมองรายได้ครัวเรือน เป็นส คัญ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน
พ.ค. 65 ที่อยู่ที่ร้อยละ 5.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับแรงกดดันจากต้นทุน
ค่าขนส่งและราคาอาหารที่เพิ่มขึ้น เป็นส คัญ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 10.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็น
การขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 ติดต่อกัน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.73 จากช่วงเดียวกันของปี
ก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.14 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ยอดค้าปลีกเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการขยายตัวที่สูง
ที่สุดเป็นประวัติการณ์ จากการมีฐานต่ และการกลับมาของผู้บริโภคท่ามกลางการระบาด
ใหญ่ในท้องถิ่นที่ชะลอตัว
ไต้หวัน ฮ่องกง
มูลค่าการส่งออกเดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -6.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่ ที่สุด
ในรอบ 3 เดือน โดยมีการส่งออกไปยังเอเชียซึ่งเป็นประเทศคู่ค้ารายใหญ่ลดลง โดยเฉพาะ
ญี่ปุ่น
มูลค่าการน เข้าเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่ต่ ที่สุดในรอบ
3 เดือน โดยมีการน เข้าลดลงจากเวียดนาม ไต้หวัน และมาเลเซีย เป็นส คัญ
ดุลการค้าเดือน มิ.ย. 65 จาดดุลที่ -68.5 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง ขาดดุลเพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่ -36.7 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SET ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาด
หลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น
Nikkei225 (ญี่ปุ่น) TWSE (ไต้หวัน) และ STI (สิงคโปร์) เป็นต้น เมื่อ
วันที่ 26 ก.ค. 65 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,553.18 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ย
ระหว่างวันที่ 25 - 26 ก.ค. 65 อยู่ที่ 58,222.89 ล้านบาทต่อวัน โดย
นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ
ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศและนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขาย
สุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 25 ? 26 ก.ค. 65 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อ
หลักทรัพย์สุทธิ1,905.79 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 ? 6 เดือน ปรับตัวเพิ่มขึ้น
1 bps ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุมากกว่า 1 ปี
ปรับตัวลดลงในช่วง -3 ถึง -19 bps โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มี
การประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 25 ? 26 ก.ค 65 กระแส
เงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ
-1.161.07 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 26 ก.ค. 65 กระแส
เงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ
-10,961.51 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 26 ก.ค. 65 เงินบาท
ปิดที่ 36.67 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.03
จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ
เงินสกุลยูโร และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อ
เทียบกับดอลลาร์ ขณะที่เงินสกุลเยน ริงกิต วอน และดอลลาร์สิงคโปร์
ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้
เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงิน
บาท (NEER) อ่อนค่าลงร้อยละ -0.19 จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง