เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน มิ.ย. 65 เพิ่มขึ้นที่ระดับ
86.3 จากระดับ 84.3 ในเดือนก่อนหน้า
? ปริมาณการจ หน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่
ร้อยละ -4.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
เศรษฐกิจไทย
ภาคการเงิน
? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 65 คิดเป็น
1.99 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ด รงตามกฎหมาย
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน มิ.ย. 65 เพิ่มขึ้นที่ระดับ 86.3 จากระดับ 84.3
ในเดือนก่อนหน้า
ดัชนี TISI เดือน มิ.ย. 65 ปรับตัวขึ้นครั้งแรกในรอบ 3 เดือน เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวขึ้นต่อเนื่องหลัง
มาตรการผ่อนคลายการควบคุม COVID-19 ประกอบกับอุปสงค์ในประเทศที่เพิ่มขึ้น ตามจ นวนนักท่องเที่ยวที่เข้ามาสูงกว่า
ที่คาด อย่างไรก็ตาม ยังมีความกังวลด้านราคาต้นทุนวัตถุดิบและน้ มันที่ยังอยู่ในระดับสูง รวมถึงภาวะ Supply Shortage
และเศรษฐกิจโลกที่มีทิศทางชะลอตัวลง ขณะที่ดัชนี TISI คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า ปรับตัวเพิ่มขึ้นที่ระดับ 97.5 จาก
96.7 เนื่องจากการฟื้นตัวของอุปสงค์ในประเทศที่มีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องจากการท่องเที่ยวและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ต่าง ๆ อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยเสี่ยงจากการปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยที่ท ให้ต้นทุนทางการเงินเพิ่มขึ้น รวมถึงความเสี่ยงที่จะ
เกิดการถดถอยของเศรษฐกิจโลกซึ่งอาจกระทบกับภาคการส่งออกได
ปริมาณการจ หน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน มิ.ย. 65 หดตัวร้อยละ -4.3 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน แต่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล
Cement Sales
-4.3
1.2
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
%YoY %MoM_Sa
โดยในเดือน มิ.ย. 65 ยอดจ หน่ายปูนซีเมนต์หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
จากราคาปูนซีเมนต์ที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามราคาต้นทุนวัตถุดิบและราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 65 คิดเป็น 1.99 เท่าของสินทรัพย์
สภาพคล่องที่ด รงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ 5.5 ล้านล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การด รงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จาก
เกณฑ์เดิมที่ต้องด รงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ กว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ กว่าร้อยละ 100 (หรือ
1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)
ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.0 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้ว) หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -11.9 โดยเป็นผลจาก
ยอดสร้างบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวดีขึ้น
ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ เดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.6 จากเดือนก่อนหน้า
(ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -7.0
โดยเป็นผลจากยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ประเภทคอนโดมิเนียมที่กลับมาขยายตัว
เพิ่มขึ้น
ยอดขายบ้านมือสอง เดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -5.4 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้ว) หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.4 และเป็นการหดตัว
ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5 โดยมียอดขายบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมมือสองที่ลดลงจากเดือน
ก่อน
ราคากลางบ้านมือสอง เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.1 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผล
ทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.0 โดยราคากลางบ้านเดี่ยว
และคอนโดมิเนียมมือสองปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน
จ นวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (10 - 16 ก.ค. 65) อยู่ที่ระดับ 2.51
แสนราย ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.44 แสนราย เป็นระดับที่สูงที่สุด
นับตั้งแต่กลางเดือน พ.ย. 64 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ ทางด้านจ นวนผู้ยื่นขอรับ
สวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวน
รายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.41 แสนราย
ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน พ.ค. 65 ขาดดุลอยู่ที่ -15.4 พันล้านยูโร ขาดดุลมากที่สุดนับตั้งแต่
เดือน ม.ค. 63 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของต้นทุนราคาพลังงาน ส่งผลให้
มูลค่าการน เข้าสินค้าเพิ่มสูงขึ้น
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน มีสาเหตุจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้า
พลังงานและราคาสินค้าอาหาร เป็นส คัญ
ธนาคารกลางยุโรปมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.5 ต่อปี จากการประชุมใน
เดือน ก.ค. 65 โดยการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางยุโรปมีจุดประสงค์เพื่อ
ลดแรงกดดันอัตราเงินเฟ้อของยูโรโซนที่เพิ่มสูงขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 65 ขาดดุล -1,383.8 พันล้านเยน ซึ่งเป็นการขาดดุลต่อเนื่องเป็น
เดือนที่ 11 เนื่องจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์และพลังงานที่แพงขึ้น
ธนาคารกลางญี่ปุ่นมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับร้อยละ 0.1 และคงเป้าหมายอัตรา
ผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปีไว้ที่ประมาณร้อยละ 0 เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 2.5. จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้น
ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 จากปัจจัยราคาอาหารและพลังงาน เป็นส คัญ
การส่งออก เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 38.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า เร่งตัว
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 30.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ขยายตัว
เป็นเดือนที่ 22 ติดต่อกัน และขยายตัวมากที่สุดนับตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2563 ท่ามกลาง
สถานการณ์ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับเพิ่มสูงขึ้น
ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 65 ขาดดุลอยู่ที่ -21.9 พันล้านริงกิต ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาด
ดุลอยู่ที่ -22.3 พันล้านริงกิต โดยอุปสงค์ภายในประเทศมีความแข็งแกร่งมากขึ้น เนื่องจาก
กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มกลับเข้าสู่ภาวะปกติ หลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โควิด-19
ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 65 เกินดุลที่ 4.4 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่เกินดุลอยู่ที่ 3.0 พันล้านดอลาร์สิงคโปร์
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ของก ลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจาก
เดือนก่อนหน้า สะท้อนสถานการณ์ตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง แม้ว่าการเพิ่มขึ้นของราคา
สินค้าภายในประเทศจะกระทบต่อต้นทุนค่าครองชีพ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า สูงสุดนับตั้งแต่ปี
2525 และสูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 9.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า โดย
ได้รับแรงกดดันจากราคาเชื้อเพลิงยานยนต์ที่ปรับเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 42.3 จากช่วงเดียวกัน
ปีก่อนหน้า เป็นส คัญ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
อัตราการว่างงาน เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.7 ของก ลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อน
หน้าที่ยอู่ที่ร้อยละ 5.1 ของก ลังแรงงานรวม ซึ่งสะท้อนถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โควิด-19 ในท้องถิ่นดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการผ่อนคลายข้อจ กัดต่าง ๆ เพิ่มเติม
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SET ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาด
หลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น HSI
(ฮ่องกง) CSI300 (เซี่ยงไฮ้) และ PSEi (ฟิลิปปินส์) เป็นต้น เมื่อวันที่ 21
ก.ค. 65 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,546.31 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่าง
วันที่ 18 - 21 ก.ค. 65 อยู่ที่ 55,085.12 ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุน
ต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่
นักลงทุนทั่วไปในประเทศและนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ
ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 18 ? 21 ก.ค. 65 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อ หลักทรัพย์
สุทธิ 749.38 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุมากกว่า 3 เดือน ปรับตัวเพิ่มขึ้น
ในช่วง 1 - 13 bps โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตร
รัฐบาลอายุ 3 ปี และ 25 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.1 และ 0 เท่าของวงเงิน
ประมูล ตามล ดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 18 - 21 ก.ค 65 กระแสเงินทุนของ
นักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ -3,175.42 ล้าน
บาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 21 ก.ค. 65 กระแสเงินทุนของ
นักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ -9,361.43
ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 21 ก.ค. 65 เงินบาท
ปิดที่ 36.78 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ - 1.16
จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ
เงินสกุลริงกิต วอน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า
เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่ เงินสกุลเยน ยูโร และดอลลาร์สิงคโปร์
ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้
เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท
(NEER) อ่อนค่าลงร้อยละ -1.44 จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง