เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
2.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้า
เกษตรกรรม ขยายตัวที่ร้อยละ 13.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ
ปีก่อน
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ
-14.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 65 ขยายตัว
ที่ร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่
ร้อยละ 4.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? เศรษฐกิจสหรัฐฯ ไตรมาส 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 จากช่วง
เดียวกันของปีก่อน
? เศรษฐกิจสหราชอาณาจักร ไตรมาส 3 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9
จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนพ.ย. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 65พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 และหมวดประมงขยายตัวที่ร้อยละ 15 โดยผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไม
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ย. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 13.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือปรับตัวลดลงร้อยละ -0.7เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ และหมวดปศุสัตว์ ขยายตัวที่ร้อยละ 8.4 และ 32.4 ตามลาดับ หมวดประมงปรับตัวลดลงร้อยละ -0.6 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพด กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และไข่ไก่ ส่วนยางพารา และกุ้งขาวแวนนาไม ปรับตัวลดลง รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.9 จากหมวดปศุสัตว์ ประมง กลุ่มไม้ผล มันสาปะหลัง ข้าวเปลือก และข้าวโพด เป็นสาคัญ เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ย. 65 มีจานวน 20,26 66คัน หดตัวที่ร้อยละ
14.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -6.4
โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากสถานการณ์น้าท่วมในหลายพื้นที่ประกอบกับผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์เพื่อจะซื้อรถยนต์ในงานมหกรรมยานยนต์ครั้งที่39 ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 -12 ธ.ค. 65 ซึ่งเป็นงานที่มีกิจกรรมส่งเสริมการขายที่ดึงดูดผู้บริโภคเป็นอย่างมาก รวมถึงการเปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่ ทั้งนี้ ตัวเลขยอดจองรถยนต์ในงานดังกล่าวมีจานวนอยู่ที่ 36,679 คัน ซึ่งคาดว่าจะช่วยส่งผลให้ยอดขายรถยนต์ในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวสูงสุดในรอบปี ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 65 มีจานวน 48,018 คัน ขยายตัว ที่ร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ในขณะที่ปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน ลดลงร้อยละ -5.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ แต่ขณะเดียวกันยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับเดือน ต.ค.65 เนื่องจากการมียอดจาหน่ายที่สูงจากไตรมาส 3 ที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี การขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจะมีผลกระทบต่อต้นทุนของผู้ประกอบการ ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากกาลังซื้อที่เริ่มฟื้นตัวจากมาตรการรักษาระดับการบริโภคภายในประเทศ เฟส 2 ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการเดินทางระหว่างประเทศ ส่งผลให้ภาคธุรกิจและภาคบริการด้าน การท่องเที่ยวกลับมาฟื้นตัวมากขึ้น นอกจากนี้ รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจากราคาสินค้าเกษตรที่ขยายตัวได้ดี และมาตรการประกันรายได้เกษตรกรยังส่งผลดีต่อยอดขายรถจักรยานยนต์เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ค่าครองชีพที่อยู่ในระดับสูง ยังเป็นปัจจัยกดดันต่อการฟื้นตัวของกาลังซื้อในปัจจุบัน เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน พ.ย. 65หดตัวร้อยละ -0.5จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลฤดูกาลแล้ว) หดตัวในอัตราที่ชะชอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -2.1โดยเป็นผลจากยอดสร้างทาวน์โฮมและคอนโดมิเนียมใหม่ที่เพิ่มขึ้น เป็นสาคัญ
ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ เดือน พ.ย. 65 หดตัวร้อยละ -11.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลฤดูกาลแล้ว) หดตัวในอัตราเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -3.3 โดยเป็นผลจาก ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมที่ลดลง เป็นสาคัญ
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ 11 17 ธ.ค. 65) อยู่ที่ 2.16 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.14 แสนราย แต่ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.22 แสนราย ขณะที่จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week
moving average ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.22แสนราย
GDP
GDPไตรมาส 3 ปี 65 (Final) ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 1.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 เมื่อคานวณแบบ annualized raterateและเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)
ยูโรโซน
มูลค่าการส่งออก เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 17.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 23.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ต.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 30.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 44.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 65 ขาดดุลที่ -2.83 หมื่นล้านยูโร ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุล -3.64หมื่นล้านยูโร
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ -22.2 จุด ปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องจากระดับ -23.9จุด ในเดือนก่อนหน้า และปรับจากระดับต่าสุดในเดือน ก.ย. 65ที่อยู่ที่ระดับ -28.7จุด
ญี่ปุ่น
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน สูงสุดนับจาก ม.ค. 34จากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่นาเข้า และค่าเงินเยนที่ยังอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่อง
ธนาคารกลางญี่ปุ่น มีมติในรอบประชุมเดือน ธ.ค. 65คงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และคงเป้าหมายอัตราผลตอบแทบพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10ปี ไว้ที่ร้อยละ 0 มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 14.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 29.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 65 เกินดุลที่ 2.23 หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 1.81หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อเท่ากับเดือนก่อนหน้า สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 3.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อินโดนีเซีย
ธนาคารกลางอินโดนีเซียได้มีมติให้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 5.50ต่อปี (ปรับขึ้นร้อยละ 0.25) เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ เพื่อลดอัตราเงินเฟ้อให้กลับสู่กรอบเป้าหมายที่ร้อยละ 2-4ต่อปี
ฮ่องกง
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 65 คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของ ปีก่อน
ไต้หวัน
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 65 คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.64 ของกาลังแรงงานรวม
( ไตรมาส 3 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน (ลดลงจากก่อนหน้าที่คาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.4) เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และ หดตัวร้อยละ -0.3เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลจากการลงทุนภาคธุรกิจและการใช้จ่ายภาครัฐชะลอตัวลง เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น NikkeiNikkei(ญี่ปุ่น) Hang SengSeng(ฮ่องกง) ShanghaiShanghai(จีน) และ STISTI(สิงคโปร์ เป็นต้น เมื่อวันที่ 2222ธ.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,612.311,612.31จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่19 2222ธ.ค. 6565อยู่ที่ 49,289.1549,289.15ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 19 2222ธ.ค. 6565นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 1,353.91 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 44ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -4 bpsbpsขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 3 14 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66ปี และ 5050ปี ซึ่งนักลงทุนสนใจ 1.71.7และ 3.13.1เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 19 2222ธ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 24,463.4824,463.48ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2222ธ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 28,819.6728,819.67ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2222ธ.ค. 655เงินบาทปิดที่ 34.6934.69บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.250.25จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร เปโซ วอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่เงินสกุลริงกิต ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และหยวนเปโซ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.130.13จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง