เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ธ.ค. 65 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ
49.7 จากระดับ 47.9 ในเดือนก่อน
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 60.47 ของ GDP
ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 65 คิดเป็น
1.93 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ธ.ค. 65 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 49.7 จากระดับ 47.9 ในเดือนก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 และสูงสุดในรอบ 25 เดือน
โดยเป็นผลมาจากผู้บริโภครู้สึกว่าเศรษฐกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้นหลังจากที่การท่องเที่ยวฟื้นตัวขึ้นอย่างชัดเจน ทั้งการท่องเที่ยวของคนไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ รวมถึงสถานการณ์โควิดในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนในประเทศมากขึ้นและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ปรับตัว ดีขึ้น ประกอบกับราคาน้ามันเบนซินปรับตัวลดลงอย่างมากจากช่วงครึ่งปีแรก ทาให้ประชาชนรู้สึกผ่อนคลายเรื่องค่าครองชีพลง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทุกรายการปรับตัวดีขึ้นทุกรายการอย่างมีนัยสาคัญ อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นรวมถึงความกังวลอย่างมากเกี่ยวกับสถานการณ์สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน ตลอดจนการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพื่อแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกที่อาจเป็นปัจจัยที่เพิ่มแรงกดดันของการฟื้นตัวของระบบเศรษฐกิจโลกเข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ย. 65มีจานวนทั้งสิ้น 10,496,167.76ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.47 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 33,948.75ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 87.27ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.29ของยอดหนี้สาธารณะ
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 65 คิดเป็น 1.9393เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ 5.245.24ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)
ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.1ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6และสอดคล้องกับคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 6.5ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 64
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (1-7 ม.ค. 66) อยู่ที่ 2.05 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.06 แสนราย ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.15 แสนราย และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบเดือน สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.13แสนราย
จีน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สอดคล้องกับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ โดยดัชนีกลับมาปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.6หลังลดลงต่อเนื่องติดต่อกัน 3 เดือน จากราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการปลอดโควิดที่เข้มงวด ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว ขณะที่อุปสงค์ในประเทศยังคงผันผวน
มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -9.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -8.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการหดตัวเป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน ท่ามกลางอุปสงค์โลกที่ลดลงจากภาวะเงินเฟ้อและมาตรการทางการเงินที่เข้มงวดของประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดใหญ่
มูลค่าการนาเข้า เดือน ธ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -7.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -10.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน จากอุปสงค์ภายในประเทศที่หดตัวท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของจานวนผู้ติดเชื้อ COVID 19 และปัญหาเรื่องห่วงโซ่อุปทาน
ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ 7.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 9.4หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
ยูโรโซน
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ซึ่งเป็นอัตราการว่างงานที่สูงที่สุดนับจาก ม.ค. 65เป็นต้นมา
ธนาคารกลาง (BOK) มีมติรอบประชุมเดือน ม.ค. 66 ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายสู่ระดับร้อยละ 3.5 เพื่อวัตถุประสงค์ในการควบคุมอัตราเงินเฟ้อ
มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 13.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 20.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน ท่ามกลางอุปสงค์ต่างประเทศที่ปรับดีขึ้นและการชะงักห่วงโซ่อุปทานที่ผ่อนคลายลง
มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 65 หดตัวร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการหดตัวครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 64
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 65 ขาดดุลที่ -3.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุล -3.3พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.6 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 4.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 22.8 จากช่วงเดียวปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 26.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 20.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยยอดค้าปลีกขยายตัวเป็นเดือนที่ 14ติดต่อกัน ท่ามกลางแรงกดดันด้านต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่เพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 119.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 119.1 จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 115.0จุด เนื่องจากผลกระทบของราคาเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นเริ่มลดลง
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.72 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.88 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการส่องออกสินค้า เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 24.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 37.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน พ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 17.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตีวที่ร้อยละ 17.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 65 เกินดุลที่ระดับ 11.2 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 13.66พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น PSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) Hang SengSeng(ฮ่องกง) ShanghaiShanghai(จีน) และ TWSETWSE(ไต้หวัน เป็นต้น เมื่อวันที่ 1212ม.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,687.451,687.45จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่9 1212ม.ค. 6666อยู่ที่ 76,242.2776,242.27ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนทั่วไปในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 9 1212ม.ค. 6666นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 9,962.91 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -18 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66ปี และ 3131ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.91.9และ 6.96.9เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 9 1212ม.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 15,154.3215,154.32ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1212ม.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่งชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 56,725.5256,725.52ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 1212ม.ค. 666เงินบาทปิดที่ 33.3833.38บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.380.38จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.370.37จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง