รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 20 ม.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday January 23, 2023 14:50 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ธ.ค. 65 ปรับตัวลดลงมาอยู่

ที่ระดับ 92.6 จากระดับ 93.5 ในเดือนก่อนหน้า

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6

ต่อปี เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม ขยายตัวที่ร้อยละ 7.4 ต่อปี

ส่งผลให้รายได้เกษตร ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ

-4.4 ต่อปี

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ธ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -3.8 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ธ.ค. 65

ขยายตัวร้อยละ 2.9 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ธ.ค. 65 ขาดดุล

จานวน -66,302 ล้านบาท

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่

ร้อยละ -9.8 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ

22.5 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP จีน ไตรมาสที่ 4 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

? GDP ไต้หวัน ไตรมาสที่ 4 ปี 65 (เบื้องต้น) หดตัวที่ร้อยละ -0.86 จากช่วง

เดียวกันของปีก่อน

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ธ.ค. 65ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 92.6จากระดับ 93.5ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี TISITISIเดือน ธ.ค. 665 ปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 7 เดือน โดยองค์ประกอบของดัชนี 3 ใน 5 ที่ลดลงได้แก่ ยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการ เป็นผลจากภาคการผลิตที่ชะลงจากวันทางานที่ลดลงในช่วงปีใหม่ ปัญหาต้นทุนการผลิตสูงขึ้นโดยเฉพาะค่าไฟฟ้า และการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ อย่างไรก็ดี การขยายตัวของการบริโภคภายในประเทศ ทั้งจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและ การเข้าสู่ช่วงเทศกาลปีใหม่ รวมถึงราคาน้ามันที่ปรับตัวลง เป็นปัจจัยบวกต่อความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการเดือนนี้ สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 99.9 กลับมาเป็นบวกอีกครั้ง จากความเชื่อมั่นด้านการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศตามการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ รวมถึงการที่จีนผ่อนคลายมาตรการ Zero CovidCovidเร็วกว่าคาด เป็นปัจจัยบวกสาคัญในช่วง 3เดือนข้างหน้

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนธ.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 65พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัวที่ร้อยละ 6.0 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3 และหมวดประมงขยายตัวที่ร้อยละ 1.4 โดยผลผลิตสินค้าเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกหมวดสินค้า ยกเว้นยางพารา และข้าวโพด ปรับตัวลดลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ธ.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 7.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือปรับตัวลดลงร้อยละ -2.8เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ธ.ค. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ และหมวดปศุสัตว์ ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 และ 21.4 ตามลาดับ หมวดประมงปรับตัวลดลงร้อยละ -8.4 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพด กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และไข่ไก่ ส่วนยางพารา ปาล์มน้ามัน และกุ้งขาวแวนนาไม ปรับตัวลดลง

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 จากหมวดปศุสัตว์ กลุ่มไม้ผล ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง และข้าวโพด เป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน แต่ขยายตัวขึ้นหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน ใน

ส่วนไตรมาส 4 ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ หดตัวร้อยละ -4.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี

ก่อน และทั้งปีลดลงร้อยละ -2.5

Cement Sales

-4.4

2.4

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0

Jun-19

Sep-19

Dec-19

Mar-20

Jun-20

Sep-20

Dec-20

Mar-21

Jun-21

Sep-21

Dec-21

Mar-22

Jun-22

Sep-22

Dec-22

%YoY %MoM_Sa

ในเดือน ธ.ค. 65 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งลดลงในไตรมาส 4 ของ

ปี 65 เนื่องจากราคาวัตถุดิบที่สูงเมื่อเทียบกับปีก่อนผลมาจากราคาพลังงานที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น แต่ขณะเดียวกัน

ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ธ.ค. 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 280,527 ล้านบาท หดตัวร้อยละ

-3.8 ต่อปี ทาให้ใน 3 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 เบิกจ่ายได้ 1,041,138 ล้านบาท หดตัว

ร้อยละ -1.7 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 30.8

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้

2 5 9 , 3 3 7 ล้า น บ ท ห ด ตัว ร้อ ย ล

-0.8 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสม

ที่ร้อยละ 30.8 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1)

รายจ่ายประจา 2 32,696 ล้านบา ท

หดตัวร้อยละ -2.4 ต่อปี คิดเป็นอัตรา

เบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 34.1 และ (1.2)

ร ย จ่า ย ล ง ทุน 2 6 , 6 4 1 ล้า น บ ท

ขยายตัวร้อยละ 15.2 ต่อปี คิดเป็น

อัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 18.6 (2)

รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 21,191 ล้าน

บ ท ห ด ตัว ที่ร้อ ย ล - 2 9 . 9 ต่อ ปี

คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ

31.0 ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ธ.ค. 65 ได้ 206,245 ล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 2.9 ต่อปี ทาให้ 3 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 จัดเก็บได้สุทธิ 633,140

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 13.3 ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ธ.ค. 65

ขยายตัวจาก ภาษิเงินได้นิติ

บุค ค ล ข ย ย ตัว ร้อ ย ล

25.7 ต่อปี ส่วนราชการอื่น

ที่ข ย ย ตัว ร้อ ย ล 4 2. 0

ต่อ ปี ภ ษีเ งิน ไ ด้บุค ค ล

ธรรมดา ที่ขยายตัวร้อยละ

6.0 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ธ .ค. 65 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน -66,302 ล้านบาท

ทั้ง นี้ เ มื่อ ร วม กับ ดุล น อ กง บ ป ร ม ณทิ่เ กิน ดุล 1 ,4 1 2 ล้า น บ ท แ ล้วพบ ว่า ดุล เ งิน ส ด ก่อ น กู้ข ด ดุล

-64,890 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 140,711 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดหลังกู้เกินดุล

75,821 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 372,126 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -9.8 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.2

ซึ่งเป็นการหดตัวครั้งแรกในรอบ 22 เดือน นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64 โดยภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจาก การใช้จ่ายภายในประเทศ หดตัวที่ร้อยละ -12.4 ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยฐานสูงจากปีก่อนที่มีการกระตุ้นการใช้จ่ายผ่านมาตรการลดภาระค่าครองชีพและฟื้นฟูเศรษฐกิจจากผลกระทบ COVID 1919ประกอบกับปัญหาค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้นยังคงเป็นปัจจัยกดดันต่อการบริโภคภายในประเทศ อย่างไรก็ดี กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กลับมาฟื้นตัวมากขึ้นตามมาตรการผ่อนคลายควบคุมโรคของภาครัฐ และการผ่อนคลายให้นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศมากขึ้นยังมีส่วนช่วยประคับประคองกาลังซื้อผู้บริโภคในปัจจุบัน ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -6.3จากทิศทางเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ธ.ค.65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล รวมทั้งเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 4ที่ร้อยละ 14.6เมื่อเทียบกับในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ธ.ค. 65 มีการขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ และความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อนชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 6.2 และเป็นการขยายตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบเกือบ 2ปี นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64ส่งผลให้ยอดค้าปลีกทั้งปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 9.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อนชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.2และเป็นการขยายตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบเกือบ 2ปี นับตั้งแต่เดือน เม.ย. 64ส่งผลให้ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมทั้งปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 3.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (8-14 ม.ค. 66) อยู่ที่ 1.90 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.05 แสนราย ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.14 แสนราย และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4 เดือน สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.06แสนราย

GDP

GDPไตรมาสที่ 4 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 1.8 และหากเทียบรายไตรมาสพบว่า GDPGDPไตรมาสที่ 4 ปี 65 อยู่ที่ร้อยละ 0.0 (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ส่งผลให้ GDPGDPจีนทั้งปี 2565 ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากปี 2564 ที่อยู่ที่ร้อยละ 8.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าป้าหมายของทางการจีนที่ร้อยละ 5.5

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.2และเป็นการขยายตัวชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน แต่ยังคงสูงกว่าที่ตลาดคาดไว้ที่ร้อยละ 0.2

อัตราว่างงานในเขตเมือง เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.5 ของกาลังแรงงานรวมลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.7

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -1.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือน พ.ย. 65ที่ร้อยละ -5.9และหดตัวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะหดตัวอยู่ที่ร้อยละ -8.6

ยูโรโซน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 9.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 10.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเท่ากับที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ อย่างไรก็ดี ยังสูงกว่าเป้าหมายเงินเฟ้อที่ ECB ตั้งเอาไว้ร้อยละ 2 BOJรอบประชุมเดือน ม.ค. 66 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1และคงกรอบอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10ปีของรัฐบาลญี่ปุ่นเอาในช่วงร้อยละ -0.5ถึง 0.5

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -0.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของ ปีก่อน ทั้งนี้ เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า จะขยายตัวร้อยละ 0.2

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงสุดนับจาก ม.ค. 34จากการเพิ่มขึ้นนาเข้าวัตถุดิบสินค้าโภคภัณฑ์ และเงินเยนที่อ่อนค่า

อินเดีย

มูลค่าการส่องออก เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -12.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือนธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 ขาดดุลที่ระดับ -23.76 พันล้านดอลลาร์สหรัฐขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -23.89พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ไต้หวัน

เศรษฐกิจไต้หวันไตรมาสที่ 4ปี 65(เบื้องต้น) หดตัวที่ร้อยละ -0.86จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.01จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.61 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.64ของกาลังแรงงานรวม

ออสเตรเลีย

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.5ของกาลังแรงงานรวม

ฮ่องกง

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.7ของกาลังแรงงานรวม มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 6.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน ท่ามกลางอุปสงค์ที่อ่อนแอลงเนื่องจากเงินเฟ้อทั่วโลกที่อยู่ในระดับสูงและนโยบายการเงินที่ตึงตัว

มูลค่าการนาเข้า เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -6.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวต่ากว่าที่คาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ -7.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน ท่ามกลางอุปสงค์ภายในประเทศที่ชะลอตัวและค่าเงินรูเปียห์ที่อ่อนค่าต่อเนื่อง

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 3.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 5.1พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 65หดตัวที่ร้อยละ -7.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -4.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -8.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -0.04จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 5.1 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 3.5พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์

มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 15.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 15.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 2.8 หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 2.2หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย

ธนาคารกลางมาเลเซียประกาศปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายระยะข้ามคืน (Overnight

Policy Rate) ร้อยละ 0.25 สู่ระดับร้อยละ 2.75 ในการประชุมเดือน ม.ค. 66

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 3.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ของกาลังแรงงานรวม เท่ากับเดือนก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 10.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงต่อเนื่องจาก ต.ค. 65จากปัจจัยราคาเชื้อเพลิงรถยนต์ รวมถึงราคาเสื้อผ้าและรองเท้าปรับตัวลงในเดือน ธ.ค

ธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) มีมติเพิ่มอัตราดอกเบี้ยอีกร้อยละ 0.5ไปอยู่ที่ร้อยละ 3.5ในเดือน ธ.ค. 65

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 65 หดตัวร้อยละ -5.9 หดตัวต่อเนื่องเป็นที่ 8เป็นผลจากเงินเฟ้อที่ยังอยู่ในระดับสูงและวิกฤตค่าครองชีพเครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัช นี SET ป รับ ตัว ล ด ล ง จ ก สัป ด ห์ก่อ น ส อ ด ค ล้อ ง กับ

ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น

Nikkei (ญี่ปุ่น) และ Dow Jones (สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น เมื่อวันที่

19 ม.ค. 66 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,688.48 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ย

ร ห ว่า ง วัน ที่ 16 - 19 ม . ค . 66 อ ยู่ที่ 57,021.69 ล้า น บ ท ต่อ วัน

โ ด ย นัก ล ง ทุน ส ถ บัน ใ น ป ร เ ท ศ แ ล นัก ล ง ทุน ทั่ว ไ ป ใ น ป ร เ ท ศ

เ ป็น ผู้ข ย สุท ธิ ข ณ ที่นัก ล ง ทุน ต่า ง ช ติ แ ล นัก ล ง ทุน บัญ ชี

บริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 16 ? 19 ม.ค. 66

นักลงทุนต่างชาติ ซื้อ หลักทรัพย์สุทธิ 4,403.47 ล้านบาท

อัต ร ผ ล ต อ บ แ ท น พัน ธ บัต ร รัฐ บ ล อ ยุ 1 เ ดือ น ถึง 6 ปี

ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 - 8 bps ขณะที่อัตราผลตอบแทน

พันธบัตรรัฐบาลอายุ 7 - 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -18 bps

โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ปี และ

11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.5 และ 1.7 เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ

ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 16 - 19 ม.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ

ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ -14,785.04 ล้านบาท และหากนับ

จากต้นปีจนถึงวันที่ 19 ม.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่งชาติ

ไหลเข้า ในตลาดพันธบัตรสุทธิ 45,776.0 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 19 ม.ค. 66 เงินบาท

ปิด ที่ 33.08 บ ท ต่อ ด อ ล ล ร์ส ห รัฐ แ ข็ง ค่า ขึ้น ร้อ ย ล 0.90

จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ

เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์

และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์

ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลส่วนใหญ่ในภูมิภาค ส่งผลให้

ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.06 จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ