เศรษฐกิจไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.02 ต่อปี ขณะที่
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 3.04 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน
? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ม.ค. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ
51.7 จากระดับ 49.7 ในเดือนก่อน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ธ.ค. 65 คิดเป็น
1.97 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
GDP อินโดนีเซีย ไตรมาส 4 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.01 จากช่วงเดียวกันของ
ปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 66ขยายตัวที่ร้อยละ 5.02ต่อปี
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ม.ค. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 5.02 สูงกว่าที่ สศค. คาดไว้ที่ร้อยละ 4.74 และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 0.30 ชะลอตัวจากเดือน ธ.ค. 65 ที่ร้อยละ 5.89 ซึ่งอยู่ระดับต่าสุดในรอบ 9 เดือน ตามการชะลอตัวของราคาสินค้าในกลุ่มพลังงานและอาหาร อาทิ น้ามันเชื้อเพลิงที่ลดลงตามสถานการณ์พลังงานโลก และค่าไฟฟ้าที่ยังไม่ปรับขึ้นในกลุ่มครัวเรือนตามมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ ประกอบกับกลุ่มอาหาร โดยเฉพาะเนื้อสุกรที่ราคาลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนรวมถึงราคาน้ามันพืชที่ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี มีสินค้าสาคัญที่ราคาสูงขึ้น ได้แก่ ผลไม้สด อาทิ ส้มเขียวหวาน กล้วยหอม และแก้วมังกร จากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลตรุษจีน และการปรับขึ้นค่าโดยสารสาธารณะ อาทิ ค่าโดยสารรถไฟลอยฟ้า และค่าโดยสารรถแท็กซี่ ทั้งนี้ เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวร้อยละ 3.04
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 3.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 66 สูงขึ้นเมื่อเทียบปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากดัชนีราคาที่สูงขึ้นในทุกหมวด โดยเฉพาะ หนวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ และหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ที่ขยายตัวร้อยละ 7.4ร้อยละ 4.6และร้อยละ 4.2ตามลาดับ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากราคาพลังงานที่สูงกว่าในช่วงเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ม.ค. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 51.7 จากระดับ 49.7 ในเดือนก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 และสูงสุดในรอบ 26 เดือน
โดยเป็นผลมาจากผู้บริโภครู้สึกว่าเนื่องจากผู้บริโภครู้สึกว่าเศรษฐกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้นหลังจากที่การท่องเที่ยวฟื้นตัวขึ้นอย่างชัดเจน ทั้งจากการท่องเที่ยวของคนไทยและนักท่องเที่ยวต่างชาติ โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีนที่เริ่มเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยหลังจากที่จีนเปิดประเทศรวมถึงสถานการณ์โควิดในประเทศที่ปรับตัว ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนในประเทศมากขึ้น และกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ ปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับราคาน้ามันเบนซินปรับตัวลดลงอย่างมากจากช่วงครึ่งปีแรก ทาให้ประชาชนรู้สึก ผ่อนคลายเรื่องค่าครองชีพลง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคทุกรายการปรับตัวดีขึ้นทุกรายการอย่างมีนัยสาคัญ อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับค่าครองชีพที่ยังทรงตัวในระดับสูง รวมถึง ความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน ตลอดจนการปรับขึ้นนอัตราดอกเบี้ยเพื่อแก้ไขปัญหาอัตราเงินเฟ้อของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ที่อาจเป็นปัจจัยที่เพิ่มแรงกดดันของการฟื้นตัวของระบบเศรษฐกิจโลกให้เข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยได้ในอนาคต
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ธ.ค. 65 คิดเป็น 1.9797เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ 5.275.27ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)
ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 10.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการขยายตัวในระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64เนื่องจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และสหรัฐฯ มีการส่งออกวัสดุอุตสาหกรรม และสินค้าอุปโภคบริโภคไปต่างประเทศลดลง
มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2
ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 ขาดดุลที่ -85.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลชะลอลงจากเดือนก่อนที่ -86.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (29 ม.ค.-4 ก.พ. 66) อยู่ที่ 1.96 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 1.83 แสนราย เพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรก หลังจากมีการปรับตัวลดลงต่อเนื่องในช่วง 4 สัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงเหลือ 1.89แสนราย ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 65
ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 3.1ต่อปี สู้ร้อยละ 3.35ต่อปี
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 22.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 23.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 16.8 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 11.2พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 3เดือน จากราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการปลอดโควิดที่เข้มงวด ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตั
ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของอินโดนีเซีย ไตรมาส 4ปี 65ขยายตัวที่ร้อยละ 5.01จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.72 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 4.8 และหากเทียบรายไตรมาสพบว่า GDPGDPไตรมาส 4 ปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 0.4 ส่งผลให้ GDPGDPอินโดนีเซีย ทั้งปี 2565ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 5.3เร่งขึ้นจากปี 2564ที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.7
ยอดค้าปลีก เดือน ธ ค 6565ขยายตัวร้อยละ 0.70.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อินโดนีเซีย
ยอดค้าปลีก ณ เดือน ธ.ค. 65 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ -2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่หดตัวน้อยกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ -3.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยูโรโซน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 8.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 8.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 7.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.2ของกาลังแรงงานรวม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ ค 6565ขยายตัวร้อยละ 10.110.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 12.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ฟิลิปปินส์
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 655ขยายตัวร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 4.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 655ขยายตัวร้อยละ 22.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 22.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อัตราการว่างงาน เดือน ธ ค 6565อยู่ที่ร้อยละ 3.63.6ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ธนาคารกลางอินเดียมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 6.25ต่อปี สู่ร้อยละ 6.5 ต่อปี
อินเดีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.04 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.71จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -21.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -12.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -16.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -11.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ม.ค. 66 เกินดุลที่ระดับ 2.34 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 4.79พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei(ญี่ปุ่น) STISTI(สิงคโปร์) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 99ก.พ. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,670.341,670.34จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่6 99ก.พ. 6666อยู่ที่ 57,115.1557,115.15ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 6 99ก.พ. 6666นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 11,144.92 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1414ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 8 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันทธบัตรรัฐบาลอายุ 16 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 11และ 2 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 6 99ก.พ. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 10,741.1310,741.13ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 99ก.พ. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่งชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 18,807.1118,807.11ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 99ก.พ. 666เงินบาทปิดที่ 33.5333.53บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 2.452.45จากสัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ 1.131.13จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง