รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 3 ก.พ. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday February 6, 2023 15:11 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -8.2 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศ

เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -13.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ

10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 60.67 ของ GDP

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ฮ่องกง ไตรมาส 4 ปี 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ภาคการเงิน

? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ธ.ค. 65 เกินดุลที่ 1,102.01 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วง

เดียวกันปีก่อน ขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงิน ขยายตัวที่ร้อยละ 4.6

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -8.2 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -2.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

ดัชนี MPIMPIในเดือน ธ.ค. 65 มีอุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิตคอมพิวเตอร์ อุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติก และอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ หดตัวร้อยละ -39.4 -24.6 และ -46.0 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตน้ามันปาล์ม อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม ขยายตัวร้อยละ 33.4 2.1 และ 2.1 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ธ.ค.65 หดตัวที่ร้อยละ -13.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน รวมทั้งลดลงร้อยละ -3.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล และไตรมาส 4ลดลงร้อยละ -12.4เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ธ.ค.65 หดตัวลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก การจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก เหล็กแผ่นรีดเย็น และเหล็กลวดที่หดตัว เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ -39.2-33.0และ-20.8เนื่องจากปัจจัยด้านต้นทุนที่ยังอยู่ในระดับสูงส่งผลให้ราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น รวมทั้งการชะลอตัวลงในการลงทุนภาคเอกชนในเดือน ธ.ค.65

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1

ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยบวกจากเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัวจากการเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติได้มากขึ้น ประกอบกาลังซื้อจากภาคเกษตรกรรมยังคงปรับตัวดีขึ้น สะท้อนจากรายได้เกษตรกรที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย การควบคุมการปล่อยสินเชื่อรถจักรยานยนต์ สถานการณ์ค่าครองชีพที่ยังอยู่ในระดับสูงยังคงเป็นปัจจัยกดดันต่อกาลังซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบัน

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค. 65 มีจานวนทั้งสิ้น10,587,313.01ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.67 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 9191,145.25145.25ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 87.233ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.3131ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ธ.ค. 655เกินดุลที่ 1,102.011,102.01ล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังขาดดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 445.22445.22ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน ธ.ค. 65 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่ 139.31 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลเพิ่มขึ้นหลังจาก ขาดดุลในเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 962.7ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 65ขาดดุลรวม -16,942.42ล้านดอลลาร์สหรัฐ

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ธ.ค. 655มียอดคงค้าง 20.3220.32ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ธ.ค. 655มียอดคงค้าง 24.5724.57ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 4.64.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.55จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยก ประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจและสินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.12.1และ 2.12.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.0404จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจากธนาคารพาณิชย์ และเงินฝากสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.54.5และ 3.23.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ

Credit Of Depository Institutions

Deposit Of Depository Institutions

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 50.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.0จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 49.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.0จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 52.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.0จุด นับเป็นการขยายตัวครั้งแรกตั้งแต่เดือนสิงหาคม ท่ามกลางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ หลังจากที่ได้มีการยกเลิกนโยบาย Zero Covid

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ของกาลังแรงงานรวม เท่ากับเดือนก่อนหน้า และต่าสุดนับจาก พ.ค. 63 เป็นต้นมา

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -2.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ปีก่อน หดตัวมากขึ้นจากร้อยละ -0.9 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 31.0 จุด เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 จากการที่เศรษฐกิจฟื้นตัว หลังสถานการณ์การระบาดโควิด-19 คลี่คลายลง

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็น การขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 จากการบริโภคภายในประเทศที่ฟื้นตัว

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ -20.9 จุด ปรับดีขึ้นจากระดับ -22.2จุด ในเดือนก่อนหน้า และปรับจากระดับต่าสุดในเดือน ก.ย. 65ที่อยู่ที่ระดับ -28.7จุด โดยมีความคาดหวังว่า ราคาพลังงานที่ปรับตัวลดลงจะมีส่วนช่วยหลีกเลี่ยงภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปีนี้

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 9.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 9.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน ธ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.6 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 6.5ของกาลังแรงงานรวม

ธนาคารกลางยุโรปมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายร้อยละ 0.5 สู่ระดับร้อยละ 3.00 ต่อปี ในการประชุมวันที่ 2ก.พ. 66เพื่อต่อสู้กับภาวะเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

เกาหลีใต้

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65หดตัวที่ร้อยละ -7.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -2.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 48.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.2จุด

มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -16.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -9.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -2.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ม.ค. 66 ขาดดุลที่ระดับ -12.69 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -4.69พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ไต้หวัน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 44.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 44.6จุด

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 65หดตัวที่ร้อยละ -7.93จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -5.55จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

สหรัฐอเมริกา

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (29ม.ค.-4ก.พ. 66) อยู่ที่ 1.83แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 1.86แสนราย ลดลงต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 5ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2 แสนราย และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 65 สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving

average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1.92แสนราย

ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 53.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.1 จุด โดยอยู่ระดับสูงกว่า 50.0จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12บ่งชี้ถึง การปรับดีขึ้นอย่างต่อเนื่องของภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศ

มาเลเซีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 46.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ติดต่อกันและเป็นระดับที่ต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 64เนื่องจากการชะลอลงของผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

อินโดนีเซีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด อยู่ในระดับที่สูงกว่า 50.0จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17ติดต่อกัน โดยปริมาณผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มสูงขึ้นและในอัตราที่เร็วที่สุดในรอบ 3เดือน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน อย่างไรก็ดี ยังสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่ธนาคารกลางตั้งเอาไว้ที่ร้อยละ 2-4จากช่วงเดียวกันปีก่อน

สิงคโปร์

อัตราการว่างงาน ไตรมาสที่ 4 ปี 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.1ของกาลังแรงงานรวม และเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 1ปี 59

อินเดีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 55.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 57.8จุด

ฮ่องกง

ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ของฮ่องกง ไตรมาส 4 ปี 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ธนาคารกลางฮ่องกง (HKMA) มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 4.75ต่อปี สู่ร้อยละ 5.0 ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน และนับเป็นระดับศุงสุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 63เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของราคาบริการด้านอาหารและจัดเลี้ยงและราคาสิ่งทอ เป็นสาคัญ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 หดตัวร้อยละ -8.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ภายหลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน ท่ามกลางแรงกดดันด้านต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น

ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 20.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 17.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน ท่ามกลางการบริโภคที่แข็งแกร่ง

มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 66 หดตัวร้อยละ -21.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -15.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 66 หดตัวร้อยละ -28.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -14.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ม.ค. 66 เกินดุลที่ 3.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 1.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 47.4 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 46.4 จุด แต่ยังอยู่ระดับต่ากว่า 50.0 จุด ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3ทั้งนี้ ผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ลดลงในอัตราที่ชะลอลง สนับสนุนโดยการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อสินค้าส่งออกใหม่

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei(ญี่ปุ่น) STISTI(สิงคโปร์) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 22ก.พ. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,6782.581,6782.58จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่3030ม.ค. 22ก.พ. 6666อยู่ที่ 65,850.1765,850.17ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 3030ม.ค. 22ก.พ. 6666นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 6,777.31 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 20 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2525ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.32.3เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 3030ม.ค. 22ก.พ. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

35,453.6935,453.69ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 22ก.พ. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่งชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

1,967.61,967.6ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 22ก.พ. 666เงินบาทปิดที่ 32.7332.73บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.130.13จากสัปดาห์ก่อนหน้า ขณะที่เงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ 0.590.59จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ