เศรษฐกิจไทย
Macro Weekly Review
Last updated
3 Mar 2023
FPO
Executive Summary
1 1
? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศ เดือน ม.ค. 66
หดตัวที่ร้อยละ -7.5 ต่อปี
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทยในเดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่
ร้อยละ 1,502.8 ต่อปี
? มูลค่าการส่งออกในเดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.5 ต่อปี ขณะที่มูลค่าการนาเข้า
ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 ต่อปี
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.พ. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.8 ต่อปี
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 61.26 ของ GDP
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP อินเดีย ไตรมาส 4 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
? GDP ออสเตรเลีย ไตรมาส 4 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ภาคการเงิน
? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ม.ค. 66 ขาดดุลที่ -2,002.26 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ม.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงิน ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
30 31 1 2 3
TH MPI (Dec 22) = -8.2% HK GDP Q4/65 = -4.2%
TH Iron Sales (Dec 22) = -13.3% TH C/A (Dec 22) = 1,102.01 mn.USD
TH Credit Growth (Dec 22) = 2.1%
TH Deposit Growth (Dec 22) = 4.6%
TH Pub Debt to GDP (Dec 22) = 60.67%
TH Motorcycle Sales (Jan 23) = 10.1%
6 7 8 9 10
ID GDP Q4/65 = 5.0% TH CCI (Jan 23) = 51.7 TH Liquidity Coverage Ratio (Dec 22)
TH Headline Inf. (Jan 23) = 5.02% = 1.97 (times)
TH Core Inf. (Jan 23) = 3.04%
TH CMI (Jan 23) = 3.5%
13 14 15 16 17
SG GDP Q4/65 = 2.1% TH Cement Sales (Jan 23) = -5.6% TH TISI (Jan 23) = 93.9 TH GDP Q4/65 = 1.4%
TH Gov. Exp (Jan 23) = 15.9%
TH Gov. Revenue (Jan 23) = -1.2%
TH Budget Bal. (Jan 23) = -39,659 mn.THB
TH Real VAT (Jan 23) = 0.7%
TH Real Estate Tax (Jan 23) = 12.5%
20 21 22 23 24
US GDP Q4/65 (revised) = 0.9% HK GDP Q4/65 = -4.2%
TH Pass.car Sales (Jan 23) = -2.1% TWGDP Q4/65 = -0.4%
TH Comm.car Sales (Jan 23) = -7.3% TH API (Jan 23) = 2.7%
TH Agri Price (Jan 23) = 1.5%
27 28 1 2 3
TH Tourism Arrival (Jan 23) = 1,502.8% IN GDP Q4/65 = 4.4% AU GDP Q4/65 = 2.7% TH Export (Jan 23) = -4.5%
TH MPI (Jan 23) = -4.4% TH C/A (Jan 23) = -2,002.26 mn.USD TH Import (Jan 23) = 5.5%
TH Iron Sales (Jan 23) = -7.5% TH Credit Growth (Jan 23) = 2.0%
TH Deposit Growth (Jan 23) = 4.2%
TH Pub Debt to GDP (Jan 23) = 61.26%
TH Motorcycle Sales (Feb 23) = 9.8%
Monday Tuesday Wednesday Thursday Friday
Economic Calendar: Feb 2023
2
3
3
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ม.ค. 66 หดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก การจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กในอุตสาหกรรม อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก เหล็กแผ่นรีดเย็น และเหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม โดยหดตัวที่ร้อยละ -36.9 -22.2 และ -12.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งหดตัวตามดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)MPI)
ที่มา : : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)MPI)เดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
โดยดัชนีที่ปรับลดลง เนื่องมาจากอุปสงค์ในกลุ่มสินค้าส่งออกสาคัญหลายชนิดลดลงต่อเนื่องตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น และเฟอร์นิเจอร์ที่หดตัวร้อยละ -48.8 -23.3 และ -48.6 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมผลิตน้ามันปาล์มที่ขยายตัวร้อยละ 9.0 6.8 และ 69.2 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)MPI)
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2022
2022
2023
2023
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
MPI
MPI
7.7
-6.0
-8.5
0.4
-4.4
-4.4
%mom_sa, %qoq_sa
%mom_sa, %qoq_sa
-0.1
-5.1
-1.7
-
1.3
-
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2022
2022
2023
2023
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
ยอดจาหน่ายเหล็ก
-10.2
-12.4
-13.3
-10.9
-7.5
-7.5
%mom_sa, %qoq_sa
%mom_sa, %qoq_sa
-8.7
1.5
-3.3
-
1.6
-
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
เดือน ม.ค. 66 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยแตะระดับ 2 ล้านคนติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2 นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในปี 2563 เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวของคนไทยยังคงปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องเช่นกัน
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (คน)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
ในเดือน ม.ค. 66นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทยจานวน 2.14ล้านคน ขยายตัวสูงที่ร้อยละ 1,502.8เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19ในปี 2565ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 13.4 โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาไทย ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย รัสเซีย เกาหลีใต้ อินเดีย และจีน ตามลาดับ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวในเดือน ม.ค. 66 ลดลงจากเดือน ธ.ค. 65 ที่มีจานวนนักท่องเที่ยว 2.24 ล้านคน ซึ่งเป็นการลดลงตามรูปแบบของฤดูกาลท่องเที่ยว
สาหรับการท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ม.ค. 66 มีจานวน 21.8 ล้านคน ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 41.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 11.1 ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยในเดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ 70,329 ล้านบาท ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 47.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 9.5 ทั้งนี้ แม้ว่าโครงการเราเที่ยวด้วยกันจะสิ้นสุดลงแล้ว แต่จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นถึงการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยว
ที่มา : : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน ม.ค. 66 มีมูลค่าอยู่ที่ 20,249.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหดตัวที่ ร้อยละ -4.5 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการหดตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้า
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัย หดตัวที่ร้อยละ -3.0 ทั้งนี้ กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัว ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ยาง แผงวงจรไฟฟ้า อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา) ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ยางพารา อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป น้าตาลทราย เป็นต้น ขณะที่กลุ่มสินค้าส่งออกที่ยังคงขยายตัวได้ดี ได้แก่อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ หม้อแปลงไฟฟ้า รถยนต์และรถจักรยานยนต์ เครื่องใช้สาหรับเดินทาง ข้าว ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง กลุ่มผลไม้สด ไขมันและน้ามันจากพืช และสัตว์ โกโก้และของปรุงแต่ง เป็นต้น สาหรับการส่งออกไปตลาดคู่ค้าหลักส่วนใหญ่มีการหดตัว อาทิตลาดสหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น และกลุ่ม CLMVCLMVขณะที่การส่งออกไปยังตลาดซาอุฯ กลุ่มแอฟริกา สิงคโปร์ และอินเดีย ยังคงขยายตัว
มูลค่าการนาเข้าในเดือน ม.ค. 66 มีมูลค่า 24,899.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวร้อยละ 5.5 เมื่อเทียบรายปี
การนาเข้าของไทยขยายตัวในกลุ่มสาคัญ ได้แก่ กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิงขยายตัวที่ร้อยละ 84.4 กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 กลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ขยายตัวที่ร้อยละ 28.4 ขณะที่การนาเข้าในกลุ่มสินค้าทุน และวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป หดตัวโดยเฉลี่ยที่ร้อยละ -10.3 และ -7.4 เมื่อเทียบรายปี ตามลาดับ ส่งผลให้ดุลการค้าในเดือน ม.ค. 66ขาดดุลอยู่ที่ 4,649.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ที่มา ::กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.พ. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 4.0
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากกาลังซื้อที่ทยอยฟื้นตัวจากภาคการท่องเที่ยว เนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ และชาวไทยที่เพิ่มขึ้น และกาลังซื้อที่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากภาคเกษตรกรรม เนื่องจากรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย การควบคุมการปล่อยสินเชื่อรถจักรยานยนต์ รวมทั้งสถานการณ์ค่าครองชีพที่ยังอยู่ในระดับสูงยังคงเป็นปัจจัยกดดันต่อกาลังซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบัน
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ม.ค. 66 มีจานวนทั้งสิ้น 10,692,883.04ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.26 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 105105,570.03570.03ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนจากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะ
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง