รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 28 เมย 66

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday May 2, 2023 13:20 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือน มี.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 9.9 ต่อปี และดัชนีราคา

สินค้าเกษตรกรรม ในเดือน มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -8.7 ต่อปี

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -4.6 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน มี.ค. 66 หดตัว

ร้อยละ -16.7 ต่อปี

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน มี.ค. 66 ขยายตัว

ร้อยละ 953 ต่อปี

? มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -4.2 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน

มี.ค. 66 หดตัวร้อยละ -7.1 ต่อปี

เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDP สหรัฐฯ ไตรมาสที่ 1 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP เกาหลีใต้ ไตรมาสที่ 1 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนมี.ค. 66ขยายตัวที่ร้อยละ 9.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน มี.ค. 66พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว ร้อยละ 9.6 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 1.7 และหมวดประมงปรับตัวลง ร้อยละ -2.5 โดยผลผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกหมวดสินค้า ยกเว้น มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน และกุ้งขาวแวนนาไมปรับตัวลดลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มี.ค. 66ปรับตัวลงร้อยละ -8.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือปรับตัวลดลงร้อยละ -3.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน มี.ค. 66 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ และหมวดปประมง ปรับตัวลง ร้อยละ -12.2 และ -13.3 ตามลาดับ หมวดปศุสัตว์ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.3 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก มันสาปะหลัง ข้าวโพด ไก่ และไข่ไก่ ส่วนยางพารา ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร และกุ้งขาว แวนนาไม ปรับตัวลดลง

Indicators (%yoy)

2022

2023

Q4

ทั้งปี

Q1

Feb

Mar

YTD

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร

3.0

1.8

7.4

8.7

9.9

7.4

%mom_sa, %qoq_sa

4.1

1.9

5.2

3.7

1.2

7.9

ดัชนีราคาสินค้าเกษตร

12.9

11.6

-1.3

4.2

-8.7

-1.3

%mom_sa, %qoq_sa

-1.7

11.7

-5.0

-0.9

-3.1

-1.4

3

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน มี.ค. 66 ปรับตัวลง ร้อยละ -8.7 แหล่งที่มาของการขยายตัว มาจากข้าวเปลือกมันสาปะหลัง และหมวดปศุสัตว์ เป็นสาคัญ

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.6 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -2.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

โดยดัชนีปรับลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6 จากอุปสงค์ในกลุ่มสินค้าส่งออกหลายชนิดยังคงลดลงต่อเนื่องตามความต้องการจากต่างประเทศที่ชะลอตัว โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เฟอร์นิเจอร์ และพลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น ที่หดตัวร้อยละ -300.8 -39.1 และ -11.7 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่ยังมีอุตสาหกรรมสาคัญที่ยังขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม และอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องปรับอากาศ ที่ขยายตัวร้อยละ 8.2 6.2 และ 7.1 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน มี.ค.66 หดตัวที่ร้อยละ-16.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวตัวที่ร้อยละ -2.9เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน มี.ค.66 หดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก การจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กในการก่อสร้าง อาทิ เหล็กลวด เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ชนิดรีดร้อน และเส้นเหล็กกลม โดยหดตัวที่ร้อยละ -32.6-30.1 และ -29.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งหดตัวตามดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมประเภทเหล็ก (MPI)

เดือน มี.ค. 66 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะที่จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังคงทรงตัวจากเดือนก่อน แต่เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ยังขยายตัวได้

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

ในเดือน มี.ค. 66นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทยจานวน 2.22ล้านคน ขยายตัวสูงที่ร้อยละ 953.0เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19ในปี 2565ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 22.4โดยนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย จีน รัสเซีย อินเดีย และเกาหลีใต้ ตามลาดับ ทั้งนี้จานวนนักท่องเที่ยวในเดือน มี.ค. 66 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือน ก.พ. 66 ที่มีจานวนนักท่องเที่ยว 2.11ล้านคน โดยส่วนหนึ่งเป็นผลจากมาตรการเปิดประเทศของจีนที่เริ่มอนุญาตให้บริษัททัวร์กลับมาดาเนินการได้ตั้งแต่วันที่ 6ก.พ. 66เป็นต้นมา ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวชาวจีนเริ่มทยอยเพิ่มขึ้น

สาหรับการท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน มี.ค. 66 มีจานวน 20.3 ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 32.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 17.4ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยในเดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ 62,481ล้านบาท ขยายตัวชะลอที่ร้อยละ 27.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 14.1

มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 66 มีมูลค่าอยู่ที่ 27,654.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหดตัวที่ ร้อยละ -4.2 เมื่อเทียบรายปี โดยหดตัวในอัตราที่ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้า

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัย ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.01 ทั้งนี้ กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัว ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรกลฯ เคมีภัณฑ์ เป็นต้น ขณะที่กลุ่มสินค้าส่งออกที่ยังคงขยายตัว ได้แก่ อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ กลุ่มรถยนต์และรถจักรยานยนต์ เครื่องปรับอากาศฯ น้าตาลทราย ไขมันจากพืชและสัตว์ เครื่องดื่ม เป็นต้น สาหรับการส่งออกไปตลาดคู่ค้าหลักส่วนใหญ่มีการหดตัว อาทิ ตลาดจีน สิงคโปร์ มาเลเซีย กลุ่ม CLMVCLMVฮ่องกง และทวีปออสเตรเลีย ขณะที่การส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร รัสเซีย แอฟริกาใต้ และซาอุฯขยายตัวในเดือนดังกล่าว ทั้งนี้ การส่งออกในช่วงไตรมาสที่ 1 ปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -4.5 เมื่อเทียบรายปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน มี.ค.66 มีมูลค่า 24,935.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการกลับมาที่หดตัวร้อยละ -7.1 เมื่อเทียบรายปี

การนาเข้าของไทยหดตัวในกลุ่มสาคัญ ได้แก่ กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิงหดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ -37.4กลุ่มสินค้าทุนหดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ -0.9 ขณะที่การนาเข้าในกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และกลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ขยายตัวโดยเฉลี่ยในเดือนดังกล่าว ทั้งนี้ การนาเข้าในไตรมาสที่ 1ปี 66หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -0.5เมื่อเทียบรายปี ด้านดุลการค้าในเดือน มี.ค. 66เกินดุลอยู่ที่ 2,718.8ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยในไตรมาส 1ปี 66ขาดดุลอยู่ที่ 3,044.2ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

GDP

USUSไตรมาส 1ปี 66(เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 เมื่อคานวนแบบ annualized rate และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.8 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากขยายตัวได้ในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.3 เป็นผลจากยอดสร้างคอนโดมิเนียมที่ลดลงเป็นสาคัญ สะท้อนถึงความต้องการที่อยู่อาศัยที่ลดลงท่ามกลางอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นและราคาผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้น

ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ ดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.7 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากขยายตัวได้ในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 15.8เป็นผลจากยอดสร้างคอนโดมิเนียมและบ้านเดี่ยวที่ลดลงเป็นสาคัญ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ก.พ. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.1 เป็นผลจากดัชนีราคากลางบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในเขต Mountain, West North Central, East North Central, West South

Central, และ East South Central เป็นสาคัญ

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน มี.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากหดตัวในเดือนก่อนที่ร้อยละ -3.9 โดยยอดขายบ้านขยายตัวเพิ่มขึ้นในเขต Northeast Midwest และ West

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (16-22 เม.ย. 66) อยู่ที่ 2.30 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.46 แสนราย เป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3 สัปดาห์ และต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ 2.48 แสนราย ทั้งนี้ กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ ได้เปลี่ยนแปลงวิธีการคานวณการปรับฤดูกาล (Seasonal Adjusted) ทาให้ตัวเลขผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเพิ่มขึ้นจากที่รายงานก่อนหน้านี้มาก สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.36แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน เม.ย. 66 อยู่ที่ระดับ -17.5 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -19.1จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ โดยมีการปรับปรุงในทุกองค์ประกอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองของผู้บริโภคเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงิน ตลอดจนสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ

อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.3 ของกาลังแรงงานรวม และเป็นการลดลงต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 11 โดยตลาดแรงงานฮ่องกงคาดว่าจะปรับตัวดีขึ้นได้ต่อเนื่อง จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ค่อย ๆ เข้าสู่ภาวะปกติ ภาคการท่องเที่ยวมีการฟื้นตัว และเริ่มตั้งแต่เดือน เม.ย. 66 รัฐบาลฮ่องกงเตรียมจะแจกบัตรกานัล E VoucherVoucherรอบใหม่ ให้ประชาชนใช้จ่ายคนละ 2.2หมื่นบาท เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -8.8และเป็นการหดตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 10เดือน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.1และเป็นการหดตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 9เดือน ตามการนาเข้าสินค้าโภคภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น 6จาก 10กลุ่มสินค้า

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 66 ขาดดุลที่ -40.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -4.54พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.59 ของกาลังแรงงานรวม กลับมาเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.58ของกาลังแรงงานรวม หลังจากลดลงต่อเนื่องติดต่อกัน 3เดือน

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.6และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 3เดือน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -14.52 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ -7.66ส่งผลให้ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมไต้หวันหดตัวต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 7

อัตราเงินเฟ้อ ไตรมาสที่ 11ปี 6666อยู่ที่ร้อยละ 7.07.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.87.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือขจัดผลทางฤดูกาลแล้วลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ามาอยู่ที่ร้อยละ 1.41.4เมื่อเทียบเป็นรายไตรมาส

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 66อยู่ที่ร้อยละ 5.5ลดลงจากเดือน ก.พ. 66ที่ร้อยละ 6.3และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.6

อัตราการว่างงานไตรมาสที่ 1 ปี 66 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือน ก.พ. 66ที่ร้อยละ 2.0และต่าที่สุด นับตั้งแต่ไตรมาสที่ 2ปี 58

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 หดตัวลงร้อยละ -4.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือน ก.พ. 66ที่ร้อยละ -9.7

สิงคโปร์

GDP

GDPไตรมาส 1 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 หดตัวลงร้อยละ -7.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -8.0ดีกว่าคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ -10.1และเป็นการหดตัวที่น้อยที่สุดนับตั้งแต่ ธ.ค. 65

เกาหลีใต้

อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 66ที่ ร้อยละ 2.6สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.5และสูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือน ก.พ. 66ที่ร้อยละ 7.3แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 5.8

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 66 หดตัวลงที่ร้อยละ -0.7 หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน ก.พ. 66ที่ร้อยละ -0.5

ธนาคารกลางญี่ปุ่นประกาศคงอัตราดอกเบี้ย เดือน เม.ย. 66 ที่ร้อยละ -0.1 ต่อปี ซึ่งยังคงรักษาระดับอัตราดอกเบี้ยนี้ต่อเนื่องมาเป็นเดือนที่ 88

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นHang Seng ฮ่องกง KLCIKLCI(มาเลเซีย) และ Nikkei 225225(ญี่ปุ่น) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2727เม.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1, 531.23531.23จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 24 2727เม.ย. 6666อยู่ที่ 42,002.8442,002.84ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2424-2727เม.ย. 66นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 1 ,233.85 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 55ปี และ 1515ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 6 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 77ถึง 1414ปี ปรับตัวลดลง 11ถึง

2 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66และ 2121ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.31.3และ 1.21.2เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่24 2727เม.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 8,645.768,645.76ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2727เม.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 56,399.0256,399.02ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2727เม.ย. 666เงินบาทปิดที่ 34.1034.10บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ0.880.88จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร และเปโซ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.92

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ