ฉบับที่ 20/2566 วันที่ 29 มิถุนายน 2566 ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนพฤษภาคม 2566 เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่องในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือ อีกทั้งการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวได้ดีในภาคเหนือ และภาคใต้ นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจำเดือนพฤษภาคม 2566 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่ขยายตัวได้ดีต่อเนื่องในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือ อีกทั้งการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวได้ดีในภาคเหนือ และภาคใต้? โดยมีรายละเอียดดังนี้ เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน การลงทุนภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 11.0 9.8 และ 7.5 ต่อปี ตามลำดับ อีกทั้ง รายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 29.4 ต่อปี และดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 56.9 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 56.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากเงินทุน ของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวร้อยละ 295.7 ต่อปี จากการลงทุนในโรงงานผลิตน้ำดื่มและทำภาชนะบรรจุจากพลาสติก ในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสำคัญ เช่นเดียวกับจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 9.5 ต่อปี ขณะที่จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -21.0 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนี ความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.0 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 92.0 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว 23.2 และ 55.1 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ดี อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 18.8 13.8 และ 17.7 ต่อปี ตามลำดับ อีกทั้งดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 52.2 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 51.5 ขณะที่รายได้เกษตรกรชะลอตัว เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ร้อยละ -12.3 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 23.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -3.7 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 14.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล สำหรับเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวร้อยละ 26.7 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานแปรรูปไม้และผลิตชิ้นไม้สับ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นสำคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 88.7 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 86.9 เครื่องชี้ ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 109.9 และ 119.5 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 6.9 ต่อปี แต่ชะลอตัวร้อยละ -0.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 5.6 และ 14.2 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -9.9 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 4.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ทั้งนี้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 58.8 เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.1 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -34.0 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 5.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -2.0 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 20.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ส่วนเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.0 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 98.9 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 24.7 และ 34.2 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 1.6 ต่อปี แต่ชะลอตัวร้อยละ -16.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 17.7 และ 9.6 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -0.4 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 14.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ทั้งนี้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 54.2 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 53.5 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล จดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -27.3 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล อย่างไรก็ตามจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.6 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 99.0 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้ จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 32.2 และ 26.6 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยว ขณะที่การลงทุนชะลอตัว อย่างไรก็ตามความเชื่อมั่นผู้บริโภคปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 4.5 และ 23.4 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ชะลอตัวร้อยละ -7.0 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 10.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับรายได้เกษตรกรชะลอตัวร้อยละ -15.5 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 9.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล ทั้งนี้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 58.5 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 57.8 เครื่องชี้ ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่และจำนวนรถบรรทุก จดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -15.1 และ -9.6 ต่อปี ตามลำดับ แต่ขยายตัวร้อยละ 33.6 และ 9.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลำดับ ส่วนเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 87.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 91.8 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 78.8 และ 146.9 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล ในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยว ขณะที่การลงทุนชะลอตัว อย่างไรก็ตามความเชื่อมั่นผู้บริโภคปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 2.5 และ 16.5 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรชะลอตัวร้อยละ -1.7 และ-3.6 ต่อปี ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 55.2 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 54.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 4.0 ต่อปี ขณะที่ จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจาก ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.6 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 99.0 เครื่องชี้ ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 66.7 และ 172.4 ต่อปี ตามลำดับ เศรษฐกิจภาคกลางในเดือนพฤษภาคม 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ อย่างไรก็ตาม การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 16.1 และ 6.9 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และจำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ทั้งนี้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 54.2 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 53.5 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ ชะลอตัวร้อยละ -28.5 และ -3.0 ต่อปี ตามลำดับ ขณะที่เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวร้อยละ 972.3 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานฉีดพลาสติกผลิตโลโก้รถยนต์ ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นสำคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.6 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 99.0 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 13.4 และ 24.3 ต่อปี ตามลำดับ โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ? ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจำเดือนเมษายน 2566 ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) 0.9 -0.6 3.8 1.0 11.0 4.5 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 8.9 23.3 12.5 21.2 9.8 13.3 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 6.3 5.5 10.6 0.6 7.5 8.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 46.5 49.7 53.4 56.3 56.9 54.7 รายได้เกษตรกร (%yoy) 16.3 19.0 32.5 33.4 29.4 32.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 0.8 -4.5 -14.8 -26.0 -21.0 -17.9 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 14.5 14.3 -5.0 -1.4 9.5 -1.5 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 4.8 1.0 0.8 1.7 1.4 4.0 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) -61.0 -88.0 -58.1 1,326.5 295.7 59.6 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) -0.7 -5.7 -7.3 -9.9 - -7.9 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 68.9 77.7 86.9 92.0 93.0 89.1 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 168.9 83.7 37.9 27.7 23.2 33.0 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 156.1 64.9 21.3 16.6 11.7 18.5 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 2,391.0 3,144.6 1,193.2 641.8 640.2 941.2 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 202.8 130.7 63.1 49.6 55.1 58.9 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 174.4 86.2 25.6 23.7 26.5 25.4 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 3,821.6 6,369.6 1,809.1 932.2 962.5 1,404.5 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) -5.9 -11.5 9.5 4.2 22.8 10.9 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 18.5 9.9 21.7 8.1 -12.9 9.9 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 4.0 4.0 4.0 2.9 0.9 3.1 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 1.3 0.9 1.0 - - 1.0 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.7 0.7 0.7 0.6 0.8 0.7 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้ เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) 13.5 9.2 16.0 18.9 18.8 17.1 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 16.8 26.4 18.8 -6.4 13.8 13.4 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 20.0 13.0 23.7 7.4 17.7 19.5 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 40.2 44.0 48.2 51.5 52.2 49.7 รายได้เกษตรกร (%yoy) 8.0 -14.2 -17.5 -30.0 -33.2 -23.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 9.8 -14.0 -17.7 -40.5 -12.3 -20.8 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) -1.6 -10.6 -13.9 -21.5 -3.7 -13.2 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 6.9 0.8 1.3 0.2 0.4 2.0 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) -25.3 -66.3 27.9 -45.6 26.7 11.5 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) -0.2 -5.9 -2.9 -7.9 - -4.0 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 85.4 91.6 87.0 86.9 88.7 87.3 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 283.2 289.7 140.7 126.7 109.9 130.7 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 207.9 192.0 60.4 53.0 51.8 57.0 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 1,636.0 1,013.0 697.8 562.7 356.3 566.0 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 470.2 426.8 239.4 188.9 119.5 197.6 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 186.2 164.2 31.5 25.9 29.1 29.8 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 1,074.1 647.2 455.4 339.3 172.3 344.5 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) 34.5 58.9 65.8 43.7 64.5 61.9 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 7.9 -1.8 17.0 -20.2 -4.6 4.5 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 2.2 1.8 3.4 2.3 0.0 2.5 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 2.1 1.8 1.4 - - 1.4 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.8 0.7 0.6 0.6 0.8 0.6 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) -1.2 4.0 2.9 2.5 6.9 3.6 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 3.3 2.6 -3.2 -7.9 -9.9 -5.3 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 9.1 0.4 1.8 -8.9 5.6 0.8 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 48.0 51.6 55.2 58.1 58.8 56.5 รายได้เกษตรกร (%yoy) 16.0 17.5 21.4 22.8 14.2 20.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) -6.5 -28.7 -31.8 -37.6 -34.0 -33.3 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 3.0 -4.1 -6.2 -20.1 -2.0 -8.0 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 20.4 2.2 5.5 0.2 0.4 6.0 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) 51.9 -59.2 217.8 -95.5 -7.2 6.8 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) -1.1 -5.7 -4.9 -8.7 - -5.7 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 84.1 89.9 100.9 98.9 95.0 99.3 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 151.7 82.1 42.5 39.9 24.7 38.3 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 145.8 75.4 35.6 30.7 17.5 30.9 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 2,947.6 2,086.4 1,614.1 1,889.7 1,331.9 1,606.6 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 163.6 121.7 58.5 52.5 34.2 52.1 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 153.8 109.5 46.4 36.9 22.2 39.2 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 3,617.5 2,603.7 1,874.5 1,991.3 1,371.9 1,772.3 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) -21.6 -15.4 -6.7 -5.8 15.6 -3.1 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 27.5 18.4 74.8 22.1 28.3 53.9 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 7.0 7.3 3.7 2.9 1.0 3.0 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 1.0 0.8 0.7 - - 0.7 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.9 0.8 0.8 0.9 1.0 0.9 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) 43.1 46.5 22.2 32.6 1.6 20.2 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 14.1 25.8 -4.4 -6.4 -0.4 -3.9 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 11.8 11.5 18.3 7.1 17.7 16.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 43.0 46.6 50.5 53.5 54.2 51.8 รายได้เกษตรกร (%yoy) 18.8 21.1 20.4 19.2 9.6 19.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 0.2 -12.2 -16.3 -20.5 -27.3 -19.4 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) -2.4 -5.5 -3.4 22.2 -1.6 1.4 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 4.4 1.8 0.4 0.0 0.1 0.5 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) 32.3 180.3 -77.7 -100.0 -22.8 -74.9 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) 2.7 -0.9 -1.8 -5.7 - -2.6 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 91.2 97.3 100.4 99.0 95.6 99.2 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 206.0 83.6 46.5 37.7 32.2 41.7 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 203.6 80.9 43.4 35.0 29.6 38.8 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 3,135.2 2,930.4 1,263.7 609.3 505.1 848.1 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 185.1 105.3 46.3 38.4 26.6 40.5 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 178.9 96.8 38.5 31.6 20.6 33.4 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 3,260.1 3,169.6 1,188.3 596.8 445.0 796.7 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) -2.0 -24.7 1.9 -3.4 22.6 4.6 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 18.4 0.3 9.2 -21.2 -41.5 -8.7 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 4.1 4.3 4.0 3.0 0.5 3.1 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 0.9 0.8 0.8 - - 0.8 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.7 0.6 0.6 0.5 0.7 0.6 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) 29.4 -0.2 -5.7 -16.9 -7.0 -8.3 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 19.8 34.6 17.1 -1.4 4.5 11.1 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 23.2 20.8 24.6 13.7 23.4 22.5 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 46.8 50.6 54.6 57.8 58.5 56.0 รายได้เกษตรกร (%yoy) 2.2 46.3 38.9 16.9 -15.5 9.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 5.5 -9.9 -17.4 -35.2 -15.1 -20.1 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 8.3 -4.6 -2.6 -10.4 -9.6 -5.5 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 34.2 6.7 20.0 1.0 1.4 22.4 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) -14.1 -21.7 321.7 -86.4 -47.2 51.5 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) 3.0 -6.2 0.4 -5.7 - -1.0 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 104.8 100.2 96.3 91.8 87.1 93.6 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 242.3 77.0 88.0 87.0 78.8 85.9 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 222.3 55.2 52.5 46.3 40.0 48.6 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 3,681.8 3,369.7 1,283.2 1,853.4 1,273.6 1,379.8 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 414.1 221.3 152.1 158.4 146.9 152.3 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 334.8 128.3 47.9 39.9 40.9 44.7 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 5,689.5 6,078.7 1,159.1 2,100.1 1,272.5 1,317.8 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) 17.1 8.1 28.3 24.7 20.3 26.2 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 19.9 17.8 29.8 8.0 12.6 21.3 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 11.2 10.9 3.0 2.1 0.6 2.3 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 1.0 1.0 1.0 - - 1.0 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.5 0.5 0.6 0.7 0.8 0.6 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) -3.0 -4.9 0.5 -5.0 -1.7 -1.1 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 24.8 33.3 12.4 0.0 2.5 8.1 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 8.3 -0.1 14.0 5.7 16.5 13.2 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 42.4 46.8 51.9 54.4 55.2 53.1 รายได้เกษตรกร (%yoy) 12.7 38.3 12.8 7.1 -3.6 9.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 13.3 -7.5 -23.4 -13.7 -21.3 -21.4 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) -0.3 -4.9 -1.6 -15.5 4.0 -3.2 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 28.5 7.9 10.2 4.7 1.8 16.8 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) -6.0 8.7 63.9 244.5 -47.6 51.3 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) -1.3 -8.2 -6.7 -11.8 - -7.9 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 91.2 97.3 100.4 99.0 95.6 99.2 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 220.3 177.1 87.2 68.6 66.7 78.9 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 163.1 99.1 22.9 10.0 21.1 19.8 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 1,465.7 1,428.5 1,069.7 769.7 297.5 704.3 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 436.4 630.7 331.2 223.3 172.4 265.6 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 177.0 167.7 32.6 1.7 14.2 21.6 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 1,854.3 2,508.9 1,509.8 901.9 377.7 916.8 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) 9.8 8.3 14.1 11.2 22.0 15.0 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 8.3 -8.7 15.3 16.0 20.9 16.7 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 4.6 4.7 4.1 2.9 0.8 3.2 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 1.3 1.3 1.1 - - 1.1 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.5 0.4 0.5 0.5 0.6 0.5 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q4/65 Q1/66 เม.ย.66 พ.ค.66 YTD เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) -9.1 -21.3 -12.5 -15.1 -10.7 -12.8 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 13.4 15.8 -5.1 -11.9 -5.4 -6.1 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy) 19.6 20.5 24.3 7.6 16.1 19.6 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ) 43.0 46.6 50.5 53.5 54.2 51.8 รายได้เกษตรกร (%yoy) 18.9 29.2 17.6 16.6 6.9 15.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy) -5.9 -20.2 -33.6 -32.3 -28.5 -32.4 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy) 1.3 -9.6 -8.1 -6.4 -3.0 -6.7 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท) 9.9 3.2 1.7 0.5 0.1 2.3 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy) -66.2 83.0 -29.9 153.6 972.3 -10.9 เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy) -1.9 -6.3 -6.2 -8.4 - -6.7 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ) 91.2 97.3 100.4 99.0 95.6 99.2 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 250.5 106.5 30.1 18.4 13.4 24.0 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 244.9 98.6 21.6 10.4 5.5 15.7 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 1,948.8 1,794.7 1,291.2 1,338.6 1,562.3 1,348.2 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 246.9 135.8 44.5 32.4 24.3 37.5 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 238.4 122.9 31.5 20.3 12.9 25.0 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 2,416.2 2,350.7 1,617.9 1,408.9 1,392.4 1,521.5 ข้อมูลการจดทะเบียนนิติบุคคล จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง (%yoy) -10.1 -23.7 17.1 -2.6 13.8 13.2 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก (%yoy) 27.8 8.9 38.8 33.3 49.1 41.3 เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy) 7.1 6.8 3.2 2.2 0.4 2.4 อัตราการว่างงาน (%ต่อกำลังแรงงาน) 1.9 1.7 2.2 - - 2.2 ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจำนวนผู้ประกันตน ม. 33) 0.6 0.6 0.7 0.6 0.9 0.7 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสำนักงานประกันสังคม คำนวณและรวบรวม: สศค. ? ตารางที่ 8 เครื่องชี้เศรษฐกิจรายภาคในเดือนพฤษภาคม 2566 ปรับผลทางฤดูกาล (MoM_SA) เครื่องชี้เศรษฐกิจ เหนือ ใต้ อีสาน ตก ออก กทม.ปริฯ กลาง เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่_SA (%mom) 3.7 3.4 -0.3 -16.9 10.0 0.1 0.5 จำนวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ _SA (%mom) 4.1 12.6 4.0 14.1 0.7 3.1 9.5 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ _SA (%mom) 4.2 9.0 13.3 14.0 12.0 8.6 13.5 รายได้เกษตรกร _SA (%mom) 2.3 -7.8 1.3 0.9 9.2 0.7 -0.8 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน จำนวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ _SA (%mom) 8.8 23.4 5.6 4.8 33.6 -6.8 6.8 จำนวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ _SA (%mom) 6.3 14.9 20.9 -10.9 9.8 16.9 10.8 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (พันล้านบาท) 1.8 0.5 1.0 0.1 2.3 1.4 0.3 เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ _SA (%mom) 6.8 74.6 567.0 - 32.2 -74.6 -51.7 เครื่องชี้ด้านการท่องเที่ยว จำนวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy) 28.3 25.0 21.9 19.8 27.5 20.6 26.0 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 28.5 28.4 22.3 20.8 24.3 17.7 31.8 จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 21.7 0.5 34.1 6.2 18.7 8.6 -40.8 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy) 40.7 12.6 9.1 18.5 13.9 19.5 21.3 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy) 48.1 42.7 9.4 17.9 18.0 22.9 20.9 รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy) 9.1 0.2 24.3 13.7 -4.5 13.8 44.8 ข้อมูลนิติบุคคลจดทะเบียน จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนจัดตั้ง _SA (%mom) 13.1 19.1 14.2 29.7 2.2 6.9 20.1 จำนวนนิติบุคคลจดทะเบียนเลิก _SA (%mom) -10.8 16.9 12.3 -14.4 6.1 4.6 23.1 ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สำนักดัชนีการค้า สำนักงานสถิติแห่งชาติ และกรมพัฒนาธุรกิจการค้า คำนวณและรวบรวม: สศค. *_SA หมายถึง ข้อมูลที่ปรับผลทางฤดูกาลแล้ว
ที่มา: กระทรวงการคลัง