ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 92.5
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ
-6.5 ต่อปี
? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.1 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ค.66 ขยายตัวร้อยละ 8.1 ต่อปี
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
ดัชนี TISITISIเดือน พ.ค. 6666ปรับตัวลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2 โดยลดลงในทุกองค์ประกอบของดัชนี ทั้งยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และผลประกอบการ จากปัจจัยสาคัญด้านอุปสงค์จากต่างประเทศที่ลดลง ส่งผลให้การส่งออกชะลอตัวต่อเนื่อง ความผันผวนจากอัตราแลกเปลี่ยน และต้นทุนการผลิตที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับสูงโดยเฉพาะราคาพลังงาน ขณะที่การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจีนเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญในเดือนนี้ สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 104.3 ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2เดือนเช่นกัน จากความกังวลด้านนโยบายการปรับค่าแรงขั้นต่า และความแปรปรวนของสภาพอากาศและภัยแล้ง ที่อาจกระทบกับสินค้าวัตถุดิบในอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรให้ลดลง
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 92.55จากระดับ 95.00ในเดือนก่อนหน้า
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ 6.5 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.8
โดยเมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ หดตัวลงต่อเนื่องที่ร้อยละ -2.2 (% โดยมีสาเหตุจากหนี้ครัวเรือนที่ยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง ประกอบกับค่าครองชีพที่อยู่ในระดับสูงช่วงก่อนหน้ายังคงมีแรงกดดันทาให้กาลังซื้อของประชาชนให้ลดลง ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -11.0 (% โดยมีสาเหตุจากการหดตัวลงของมูลค่าการนาเข้าในกลุ่มสินค้าประเภทเชื้อเพลิง เช่น น้ามันดิบ น้ามันสาเร็จรูป จากราคาที่ปรับตัวลง
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 66 มีการขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวสูงกว่าที่คาดการณ์และการลดลงของราคาพลังงานที่ส่งผลให้ต้นทุนการก่อสร้างลดลง รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค แต่ยังมีปัจจัยท้าทายสาคัญมาจากอัตราดอกเบี้ยที่เพิ่มสูงขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
5
ที่มา : 3 บริษัทเอกชน คานวณ โดย สศค.
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.1 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 3.8 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
Cement Sales
8.1
3.8
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
Nov-19
Feb-20
May-20
Aug-20
Nov-20
Feb-21
May-21
Aug-21
Nov-21
Feb-22
May-22
Aug-22
Nov-22
Feb-23
May-23
%YoY %MoM_Sa
ในเดือน พ.ค. 66 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 2
เนื่องจากมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยเฉพาะจากภาคการท่องเที่ยวส่งผลให้มีการขยายตัว
ของการก่อสร้างทาให้มีความต้องการใช้ปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้น แต่ขณะที่ราคาวัสดุก่อสร้างในหนวดซีเมนต์ยังคงอยู่
ในระดับสูง
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราเงินเฟ้อ (CPI) ของสหรัฐฯ เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.9 โดยเป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11ติดต่อกัน ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้เล็กน้อยที่ร้อยละ 4.1และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 64 โดยเป็นผลจากราคาพลังงานที่ปรับตัวลดลงเป็นหลัก ขณะเดียวกัน อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน พ.ค. 66ยังคงทยอยปรับตัวลดลงต่อเนื่องมาอยู่ที่ร้อยละ 5.3ตามคาดการณ์ตลาด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.5
ผลการประชุมคณะกรรมการกาหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ครั้งที่ 4/66 ของปี ในระหว่างวันที่ 13 14 มิ.ย. 66 (ตามเวลาท้องถิ่น) จากการประชุมทั้งหมด 8 ครั้ง คณะกรรมการมีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ ตามคาดการณ์ตลาดอยู่ที่ช่วงร้อยละ 5.00 5.25 ต่อปี หลังจากมีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อเนื่องถึง 10ครั้ง นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 65เพื่อดูแลสถานการณ์เงินเฟ้อในสหรัฐฯ
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (4 -10 มิ.ย. 66) คงที่จากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.62 แสนราย แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 2.49 แสนราย ขณะที่จานวนผู้ขอรับสวัสดิการ ว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.47แสนราย
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. หดตัวที่ร้อยละ -0.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แม้ว่าดัชนีจะยังหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน แต่ดัชนีหดตัวชะลอลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -0.8
สหรัฐอเมริกา
การส่งออก เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.6 แม้ว่าจะเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 27 แต่เป็นอัตราการขยายตัวที่น้อยที่สุดนับจาก ก.พ. 64 เนื่องจากยอดส่งออกไปจีนหดตัวลง ขณะที่การนาเข้า เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -9.9 ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า
ธนาคารกลางญี่ปุ่น รอบประชุมเดือน พ.ค.66 มีมติคงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และคงกรอบอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ 10ปีของรัฐบาลญี่ปุ่นเอาไว้ใกล้เคียงร้อยละ 0
ญี่ปุ่น
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 66ขยายตัวร้อยละ 0.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้ง หลังจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 1.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.8
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.6 ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดเล็กน้อยที่ร้อยละ 3.6 และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3 เดือน โดยมีสาเหตุหลักมาจากการชะลอตัวของกิจกรรมการผลิต และการทาเหมืองแร่ เป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 18.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 13.6 เป็นผลจากยอดขายผลิตภัณฑ์น้ามัน วัสดุก่อสร้าง และเครื่องใช้สานักงานที่ลดลง เป็นสาคัญ อย่างไรก็ดี ดัชนียังขยายตัวได้ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4และหากไม่นับข้อมูลเดือน เม.ย. 66การขยายตัวของยอดค้าปลีกของจีนเดือนนี้จะเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 2ปี
อัตราการว่างงานในเขตเมืองของจีน เดือน พ.ค. 66 ทรงตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.2 ของกาลังแรงงานรวม ใกล้กับเป้าหมายอัตราว่างงานในเมืองของทางการจีนในปี 66 ที่ประมาณร้อยละ 5.5 ขณะที่ อัตราว่างงานในกลุ่มคนหนุ่มสาวที่มีอายุระหว่าง 16-24 ปี เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 20.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อหน้าที่ร้อยละ 20.4 และเป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ธนาคารกลางฮ่องกง (HKMA) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 5.5 ต่อปีตามการตัดสินใจของเฟดเนื่องจากสกุลเงินดอลลาร์ฮ่องกงตรึงอยู่กับดอลลาร์สหรัฐ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม Q 1 ปี 66 กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจากหดตัวในช่วง 2 ไตรมาสก่อนหน้า (Q 33และ Q 44ปี 65) ที่ร้อยละ -0.5 และ -0.1 ตามลาดับ โดยดัชนีอยู่ในระดับที่สูงที่สุดในรอบ 5 เดือน เนื่องจากผลผลิตที่ปรับตัวดีขึ้นในหมวด 1) อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ 2) ผลิตภัณฑ์กระดาษ การพิมพ์ และการผลิตซ้าของสื่อบันทึก และ 3) สิ่งทอและเครื่องแต่งกาย เป็นสาคัญ
ฮ่องกง
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.6 ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดเล็กน้อยที่ร้อยละ 3.6 และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3 เดือน โดยมีสาเหตุหลักมาจากการชะลอตัวของกิจกรรมการผลิต และการทาเหมืองแร่ เป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 18.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 13.6 เป็นผลจากยอดขายผลิตภัณฑ์น้ามัน วัสดุก่อสร้าง และเครื่องใช้สานักงานที่ลดลง เป็นสาคัญ อย่างไรก็ดี ดัชนียังขยายตัวได้ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4และหากไม่นับข้อมูลเดือน เม.ย. 66การขยายตัวของยอดค้าปลีกของจีนเดือนนี้จะเป็นระดับสูงที่สุดในรอบ 2ปี
อัตราการว่างงานในเขตเมืองของจีน เดือน พ.ค. 66 ทรงตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.2 ของกาลังแรงงานรวม ใกล้กับเป้าหมายอัตราว่างงานในเมืองของทางการจีนในปี 66 ที่ประมาณร้อยละ 5.5 ขณะที่ อัตราว่างงานในกลุ่มคนหนุ่มสาวที่มีอายุระหว่าง 16-24 ปี เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 20.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อหน้าที่ร้อยละ 20.4 และเป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์
จีน
ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 12.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 17.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยนับเป็นการขยายตัวต่าสุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 65
มาเลเซีย
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 6666อยู่ที่ร้อยละ 3.63.6ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.73.7ของกาลังแรงงานรวม
ออสเตรเลีย
ธนาคารกลางของไต้หวันได้มีการประชุมในรอบเดือน มิ.ย. 66 ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยอยู่ที่ร้อยละ 1.875 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดและเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกหลังประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยเมื่อวันที่ 23 มี.ค .66 การประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเป็นผลจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ค. ที่ลดลงไปอยู่ที่ระดับต่าที่สุดในรอบ 2 ปี
ไต้หวัน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 128.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 126.1จุด เป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 65โดยมุมมองของภาคครัวเรือนที่มีต่อทิศทางเศรษฐกิจของอินโดนีเซียปรับดีขึ้น
ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยทิศทางการบริโภคชะลอตัวลง ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น
มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -29.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 14.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -22.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 66 เกินดุลที่ 21.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 15.3พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อินโดนีเซีย
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) ไตรมาส 1 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 1.8 ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าสุดนับจากไตรมาส 1ปี 58
ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66เกินดุล 5,491.43ล้านดอลลาร์สิงคโปร์
การส่งออกสินค้าที่ผลิตในประเทศยกเว้นน้ามัน (NODX) เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -14.7 จากปีก่อนหน้า และเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8เนื่องจากยอดขายที่ลดลงจากสินค้าทั้งในหมวดอิเล็กทรอนิกส์และไม่ใช่หมวดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสาคัญ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
สหราชอาณาจักร
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.2 จากปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.7ในเดือนก่อนหน้า
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.25 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าสุดนับจาก เม.ย. 64เป็นต้นมา จากการชะลอตัวของราคาอาหาร เป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน พ.ค.66 ขาดดุล -22.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการขาดดุลสูงสุดในรอบ 5 เดือน โดยการส่งออกหดตัวร้อยละ -10.3 จากปีก่อนหน้า ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -6.6จากปีก่อนหน้า
อินเดีย
อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 66อยู่ที่ร้อยละ 3.8ของกาลังแรงงานรวม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 66 หดตัวร้อยละ -1.9 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวที่น้อยที่สุดนับจาก ก.พ. 65
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นHang Seng ฮ่องกง NikkeiNikkei(ญี่ปุ่น) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1515มิ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,557.711,557.71จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 12 1515มิ.ย. 6666อยู่ที่ 39,431.7939,431.79ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่เป็นนักลงทุนต่างชาติ ผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1212-1515มิ.ย. 66นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 1,718.471,718.47ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 22ถึง 13 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่12 1515มิ.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 527.53527.53ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1515มิ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 54,582.8654,582.86ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่1515มิ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 34.8334.83บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.170.17จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร เปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลเยน ริงกิตและหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.06
ที่มา: กระทรวงการคลัง