รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 9 มิ.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday June 12, 2023 13:47 —กระทรวงการคลัง

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ค. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.5 ต่อปี และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น

ร้อยละ 1.5 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.5 ต่อปี

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.5 ต่อปี

? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน พ.ค. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 55.7

เศรษฐกิจไทย

ภาคการเงิน

? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน เม.ย.66 คิดเป็น 1.96 เท่าของ

สินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ออสเตรเลีย ไตรมาสที่ 1 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ค. 66สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.5ต่อปี

เงินเฟ้อทั่วไปเดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 0.5 (YoY)YoY)(ต่ากว่าที่ สศค. คาดไว้ที่ร้อยละ 1.9 ณ เดือน เม.ย. 66) ชะลอตัวอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 และต่าสุดในรอบ 21 เดือน โดยเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าเงินเฟ้อทั่วไปลดลงถึงร้อยละ-0.7(MoM) จากการลดลงของราคาอาหารสด ค่ากระแสไฟฟ้า และราคาน้ามันเชื้อเพลิงที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนหนึ่งมาจากมาตรการช่วยเหลือค่าของชีพของภาครัฐ อาทิ การต่ออายุมาตรการช่วยเหลือค่ากระแสไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า 1 300300หน่วยต่อเดือน และการปรับลดค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) รอบเดือน พ.ค. -ส.ค. 6666ที่ 2.24 -63.73 สตางค์ต่อหน่วย การปรับลดราคาน้ามันดีเซล รวมถึงปัจจัยฐานสูงในเดือน พ.ค. 65 ที่ร้อยละ 7.1 ทาให้เงินเฟ้อชะลอตัวตัวค่อนข้างมาก เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoYYoY) ของหมวดสินค้าหลักที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ 3อันดับแรก ได้แก่ 1) หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร ที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงถึงร้อยละ -1.02) หมวดอาหารสด และ 3 หมวดอาหารสาเร็จรูป และเมื่อหักกลุ่มอาหารสดและพลังงานออกเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 1.5(YoY) และทรงตัวที่ร้อยละ 0.06 (

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค.66 หดตังตัวที่ร้อยละ -1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค.66 หดตัวเมื่อเทียบปีที่ผ่านมา โดยเป็นผลมาจากดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กที่ปรับตัวลดลงร้อยละ -9.8 เนื่องจากราคาวัตถุดิบ บิลเล็ตเศษเหล็ก สินแร่เหล็ก ปรับตัวลดลง รวมทั้งมีปริมาณเหล็กในตลาดสูง ขณะที่ดัชนีหมวดอื่น ๆ สูงขึ้นได้แก่ หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดวัสดุฉาบ และหมวดซีเมนต์ ที่ขยายตัวร้อยละ 6.4 ร้อยละ 4.7 และร้อยละ 1.9ตามลาดับ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 10.2

Motorcycle registration

Indicators

(%yoy)

2022

2023

Q

4 ทั้งปี

Q

1 Apr

May

YTD

ปริมาณรถจักรยานยนต์

6.3

12.0

13.5

2.4

13.5

11.6

%

mom_sa ,

qoq_sa

-3.2

-

4.8

-

4.0 10.2

-

เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในทิศทางของการขยายตัวจากภาคการท่องเที่ยวเป็นสาคัญ โดยเฉพาะจากภาคของการบริการ ซึ่งสอดคล้องกับจานวนนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ประกอบกับราคาพืชผลทางการเกษตรหลายรายการปรับตัวดีขึ้นหรือทรงตัวในระดับที่ดีเกือบทุกรายการสาคัญ ส่งผลให้เกษตรกรเริ่มมีรายได้สูงขึ้นและทาให้กาลังซื้อในต่างจังหวัดเริ่มปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การผลิตภาคอุตสาหกรรมและการลงทุนภาคเอกชนที่ปรับตัวลดลงยังสร้างแรงกดดันต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยทาให้ไม่สามารถเติบโตได้เต็มประสิทธิภาพ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน พ.ค.66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 55.7 จากระดับ 55.0ในเดือนก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12และสูงสุดในรอบ 3 ปี 3 เดือน

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังคงได้รับปัจจัยบวกจากจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับบรรยากาศของการเลือกตั้งที่คึกคักในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นและสร้างเงินหมุนเวียนในภูมิภาคต่าง ๆ ปรับตัวดีขึ้น เช่นเดียวกับราคาน้ามันขายปลีกในประเทศที่ปรับตัวลดลงเช่น แก๊สโซฮอล 91 และ แก๊สโซฮอล 95 อย่างไรก็ดี ผู้บริโภคยังคงมีความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนในการจัดตั้งและเสถียรภาพทางการเมืองรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง ประกอบปัญหาค่าครองชีพที่ยังคงอยู่ในระดับสูงโดยเฉพาะค่าไฟฟ้า รวมถึงความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์สถาบันการเงินของโลก ตลอดจนการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อของหลายประเทศทั่วโลก ที่อาจสร้างแรงกดดันต่อเศรษฐกิจโลกให้เข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอย ซึ่งส่งผลกระทบทาให้ภาคการส่งออกของไทยหดตัวลง และสร้างผลกระทบในเชิงลบต่อการบริโภคของประชาชนได้

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน เม.ย 666คิดเป็น 1.9696เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน เม.ย. 666อยู่ที่ 5.525.52ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (ISM) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด ลดลงจากเดือน เม.ย. 66 ที่ 51.9 จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 52.2 จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 5 เดือน แต่ยังสูงกว่าระดับ 50 จุดบ่งชี้ถึงการขยายตัวในภาคบริการ โดยแม้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ระบุว่าสภาพธุรกิจสหรัฐฯ ในปัจจุบันยังมีเสถียรภาพ แต่ยังมีความกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจที่ชะลอตัว

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน เม.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 และเป็นการกลับมาหดตัวเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 2 ปี นับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64 จากการส่งออกพลังงานที่ลดลงเป็นสาคัญ ทั้งนี้ แนวโน้มการส่งออกที่ไม่สดใส ขณะที่ ดอลลาร์สหรัฐมีทิศทางแข็งค่า และอุปสงค์ทั่วโลกที่ชะลอตัว อาจกดดันการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ในไตรมาสที่ 2ให้ชะลอลง

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน เม.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -11.1แม้ว่าการนาเข้าสินค้าของสหรัฐฯ จะยังหดตัวต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6แต่มีแรงหนุนจากอุปสงค์ในประเทศที่กาลังฟื้นตัว

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 66 ขาดดุลที่ -87.25 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -77.37พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็นการขาดดุลที่สูงที่สุดในรอบ 3เดือน

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (28พ.ค. -3มิ.ย. 66) อยู่ที่ 2.61แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.33 แสนราย และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 2.35 แสนราย สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.37แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ (Jibun Bank PMI) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 55.9 จุด เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9จากการกลับมาของอุปสงค์ผู้บริโภค เป็นสาคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (Jibun Bank Composite PMI) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 54.3 จุด สะท้อนกิจกรรมภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

GDP

GDPไตรมาสแรก (ปรับปรุงใหม่) ขยายตัวร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และหดตัวร้อยละ -0.4เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

ญี่ปุ่น

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 66 หดตัวร้อยละ -2.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการหดตัวเป็นเดือนที่ 7 ติดต่อกัน นับตั้งแต่ เดือน ต.ค. 65 อย่างไรก็ตาม หดตัวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ -3.0

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (Caixin) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 57.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 56.4จุด และอยู่สูงกว่าระดับ 50จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงการขยายตัว ต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.1 แต่ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 0.3ทั้งนี้ รัฐบาลจีนได้กาหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยปี 66ที่ร้อยละ 3.0

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเป็นการกลับมาหดตัวลงอีกครั้งในรอบ 3 เดือน หลังจาก 2 เดือนก่อนหน้า (มี.ค. -เม.ย.) ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8 และ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -0.4 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกเดือน พ.ค. นี้ เป็นการหดตัวที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน โดยการส่งออกจีนยังได้รับแรงกดดันจากอุปสงค์ทั่วโลกที่ยังอ่อนแอ ซึ่งส่งสัญญาณว่า การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มจะชะลอลง

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้า ที่หดตัวที่ร้อยละ -7.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และดีกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวถึงร้อยละ -8.0โดยการนาเข้าของจีนหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน ท่ามกลางอุปสงค์ในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่อ่อนแอ ขณะที่เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66 เกินดุลที่ 65.81 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 90.21พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเป็นการเกินดุลในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3เดือน จากการส่งออกที่ลดลงมากกว่าการนาเข้า ท่ามกลางอุปสงค์ทั่วโลกที่อ่อนแออย่างต่อเนื่อง

ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.4 จุด และเป็นการลดลงต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 ส่งผลให้อยู่ในระดับต่าที่สุดในรอบ 5 เดือน อย่างไรก็ดี ดัชนีบ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมยังมีการเติบโต โดยดัชนีที่ปรับลดลงส่วนหนึ่งเป็นผลจากแรงส่งจากการกลับมาเปิดการเดินทางระหว่างฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่อย่างเต็มรูปแบบที่ชะลอลง

ฮ่องกง

ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (Caixin) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 57.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 56.4จุด และอยู่สูงกว่าระดับ 50จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงการขยายตัว ต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.1 แต่ต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 0.3ทั้งนี้ รัฐบาลจีนได้กาหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยปี 66ที่ร้อยละ 3.0

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเป็นการกลับมาหดตัวลงอีกครั้งในรอบ 3 เดือน หลังจาก 2 เดือนก่อนหน้า (มี.ค. -เม.ย.) ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8 และ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามลาดับ และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -0.4 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกเดือน พ.ค. นี้ เป็นการหดตัวที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน โดยการส่งออกจีนยังได้รับแรงกดดันจากอุปสงค์ทั่วโลกที่ยังอ่อนแอ ซึ่งส่งสัญญาณว่า การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้มจะชะลอลง

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้า ที่หดตัวที่ร้อยละ -7.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และดีกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวถึงร้อยละ -8.0โดยการนาเข้าของจีนหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน ท่ามกลางอุปสงค์ในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่อ่อนแอ ขณะที่เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66 เกินดุลที่ 65.81 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 90.21พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเป็นการเกินดุลในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3เดือน จากการส่งออกที่ลดลงมากกว่าการนาเข้า ท่ามกลางอุปสงค์ทั่วโลกที่อ่อนแออย่างต่อเนื่อง

จีน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 66หดตัวร้อยละ -3.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า

นาคารกลางออสเตรเลียมีมติปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 3.853.85ต่อปี สู่ระดับร้อยละ 4.1 ต่อปี เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อยังคงสูงอย่างต่อเนื่อง

GDP

GDPไตรมาสที่ 11ปี 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 2.32.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.72.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.20.2เมื่อเทียบเป็นรายไตรมาส (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ค. 6666อยู่ที่ระดับ 52.152.1จุด ลดลงจากเดือนก่อหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.753.7จุด

มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 6666หดตัวที่ร้อยละ 3.73.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.311.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 3.13.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยาตัวที่ร้อยละ 3.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 6666เกินดุลที่ระดับ 12.3912.39พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 16.0916.09พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.02 ต่อปี ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.35 ต่อปี ต่ากว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ที่ร้อยละ 2.29 และต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2021 เนื่องจากการลดลงของราคาสินค้าหมวดอาหาร ที่อยู่อาศัย และหมวดการศึกษาและความบันเทิง

การส่งออก เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -14.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน เม.ย. 66 ที่หดตัวร้อยละ -13.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9เนื่องจากการลดลงของการส่งออกสินค้าประเภทพลาสติกและยาง เครื่องจักร โลหะพื้นฐาน และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

การนาเข้า เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -21.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน เม.ย. 66 ที่หดตัวร้อยละ -20.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ -20.8และต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 58เนื่องจากคาสั่งซื้อสินค้าโภคภัณฑ์ที่ลดลงต่อเนื่อง

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66 เกินดุลที่ 4.89 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือน เม.ย. 66ที่ 6.71พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ไต้หวัน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (S&P Composite PMI) เดือน พ.ค. 66อยู่ที่ระดับ 61.6 เท่ากับเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 13 ปี จากผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวในอัตราที่เร็วขึ้น ขณะที่การขยายตัวของกิจกรรมการบริการเริ่มผ่อนลง

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 3.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากร้อยละ 4.5ในเดือนก่อนหน้า จากยอดขายที่ชะลอลงของสินค้าในห้างสรรพสินค้า อาหารและเครื่องดื่ม เครื่องแต่งกาย เป็นสาคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของสิงค์โปร์ (S&P Global PMI) เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 54.6 ชะลอลงจากระดับ 55.3 ในเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงสะท้อนการขยายตัวของกิจกรรมภาคเอกชนต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ท่ามกลางคาสั่งซื้อใหม่ที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ยอดจดทะเบียนรถยนต์โดยสาร เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 16.7 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 11.6ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (S&P Global/CIPS Composite PMI)

เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 54 ชะลอลงจากระดับ 54.9ในเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงสะท้อนการเติบโตที่แข็งแกร่งในภาคเอกชนของอังกฤษ

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 3.7 ต่อปี ชะลอลงจากร้อยละ 5.2 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากราคาอาหารที่พุ่งสูงขึ้นทาให้ผู้ซื้อต้องควบคุมการใช้จ่ายสาหรับสินค้าที่ไม่จาเป็น

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นHang Seng ฮ่องกง STISTI(สิงคโปร์) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 88มิ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,559.51,559.5จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 6 88มิ.ย. 6666อยู่ที่ 52,472.94.3152,472.94.31ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 66-88มิ.ย. 66นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 2,347.11 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1414ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 7 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 15 1919ปีปรับตัวลดลงในช่วง 22ถึง 3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1111ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.61.6เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่6 88มิ.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,417.122,417.12ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่88มิ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 53,773.7153,773.71ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่88มิ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 34.8934.89บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.320.32จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลริงกิตดอลลาร์ไต้หวันใหม่ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลเยน ยูโร เปโซ วอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.52

ที่มา: กระทรวงการคลัง

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ