รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 30 มิ.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Monday July 17, 2023 14:20 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -3.1 ต่อปี

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัว

ร้อยละ 286.3 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน พ.ค. 66 หดตัว

ร้อยละ -22.9 ต่อปี

? มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -4.6 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน

พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -3.4 ต่อปี

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -6.5

ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค.66 เกินดุล 8,952 ล้านบาท

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP เวียดนาม ไตรมาส 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -3.1ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 3.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

โดยดัชนีปรับลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8 จากอุปสงค์ในกลุ่มสินค้าส่งออกสาคัญหลายชนิดยังลดลงต่อเนื่องตามเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะกลุ่มสินค้าประเภทคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ยางและพลาสติก ที่หดตัวร้อยละ -10.1 และ -8.2 ต่อปี ตามลาดับ* อย่างไรก็ดี อุตสาหกรรมสาคัญทั้ง อุตสาหกรรมยานยนต์ และ การผลิตเครื่องจักรและเครื่องมือ กลับมาขยายตัวเร่งขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 16.1 และ 10.5 ต่อปี ตามลาดับ* หลังจากหดตัวในเดือนก่อนที่ร้อยละ -3.8 และ -7.1 (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI) ส่งผลให้ดัชนี MPIMPIเดือนนี้ หดตัวน้อยลงจากเดือนก่อน

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ-222.99เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวตัวที่ร้อยละ 1.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน พ.ค. 66 หดตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยสาคัญมาจาก การจาหน่ายที่ลดลงของทั้งเหล็กในอุตสาหกรรมและเหล็กในการก่อสร้าง อาทิ เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน เหล็กลวด และแผ่นเหล็กเคลือบดีบุก โดยหดตัวที่ร้อยละ -42.1 -39.8 และ -29.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากความต้องการใช้เหล็กชะลอตัวลง รวมทั้งหดตัวตามดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมประเภทเหล็ก

?เดือน พ.ค. 66จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยและจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังคงขยายตัวได้เช่นกัน แม้จะเป็นช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยว

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน พ.ค. 66มีจานวน 2.18ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 286.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในปี 65 โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย จีน อินเดีย เกาหลีใต้ และเวียดนาม ตามลาดับ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวในเดือน พ.ค. 66 ลดลงเล็กน้อยจากเดือนที่มีจานวนนักท่องเที่ยว 2.01 ล้านคน ซึ่งเป็นไปตามฤดูกาลของการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ทั้งนี้ มีปัจจัยสาคัญที่ต้องติดตาม ได้แก่ การคาดการณ์ของสานักงานการบินพลเรือน (กพท.) ว่าจะมีการเพิ่มเที่ยวบินจากจีนเป็น 430 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 1 มิ.ย. 66 เป็นต้นไป (Summer slot)

จากปัจจุบัน 100เที่ยวบินต่อสัปดาห์ และปัญหาจากสายการบินของอินเดียอาจส่งผลกระทบต่อ การลดลงของจานวนนักท่องเที่ยวอินเดียที่เดินทางไปยังไทย

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยใน พ.ค. 66มีจานวน 19.7ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 24.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 13.3ทั้งนี้ จานวนผู้เยี่ยมเยือนในเดือน พ.ค. 66ที่ลดลงเนื่องจากอยู่นอกฤดูกาลท่องเที่ยว ขณะเดียวกัน ยังเป็นผลจากโครงการเราเที่ยวด้วยกันเฟส5 ที่ได้สิ้นสุดลงแล้ว (7 มี.ค.

30 เม.ย 66) ขณะที่ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ 62,089 ล้านบาท ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 24.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค.66มีมูลค่าอยู่ที่ 24,340.9ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือหดตัวที่ร้อยละ -4.6 เมื่อเทียบรายปี โดยเป็นการหดตัวในอัตราที่ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้า

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัย หดตัวเพียงร้อยละ -1.4 ทั้งนี้ กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัว อาทิ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องโทรศัพท์และอุปกรณ์ สินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ยางพารา ผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็ง อาหารสัตว์เลี้ยง เป็นสาคัญ ขณะที่กลุ่มสินค้าส่งออกที่ยังคงขยายตัว อาทิ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศฯ ข้าว ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง น้าตาลทราย ผักกระป๋องและแปรรูป เครื่องดื่ม ทั้งนี้ สาหรับการส่งออกไปตลาดคู่ค้าหลักส่วนใหญ่มีการหดตัว อาทิ ตลาดจีน ญี่ปุ่น กลุ่มCLMVCLMVและอินเดีย ส่วนการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ สหภาพยุโรป ทวีปออสเตรเลีย ขยายตัวในเดือนดังกล่าว ทั้งนี้ การส่งออกในช่วง 5 เดือนแรกของปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -5.1เมื่อเทียบรายปี

มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค.66มีมูลค่า 26,190.2ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการหดตัวที่ร้อยละ -3.4 เมื่อเทียบรายปี

การนาเข้าของไทยส่วนใหญ่หดตัวในกลุ่มสาคัญ ได้แก่ กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิงหดตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ -13.1 กลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูปหดตัวเฉลี่ยร้อยละ -11.9 และกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคหดตัวเฉลี่ยร้อยละ -3.3 ขณะที่ กลุ่มสินค้าทุนในเดือนดังกล่าวขยายตัวเฉลี่ยที่ร้อยละ 17.6 เมื่อเทียบรายปี ทั้งนี้ การนาเข้าช่วง 5 เดือนแรกปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -2.5เมื่อเทียบรายปี ด้านดุลการค้าในเดือน พ.ค. 66 ขาดดุลอยู่ที่ 1,849.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยช่วง 5 เดือนแรกปี 66 ขาดดุลอยู่ที่ 6,365.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. 66เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 199,631 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.5 ต่อปี ทาให้ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 เบิกจ่ายได้ 2,221,327 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.0คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 65.8

6

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 190,650 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 65.9ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 150,862 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 6.1ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 70.9 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 39,788 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 10.9 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 46.4 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 8,981ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -19.7 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 64.5ต่อปี

2022

2023

รายการ

2022

Q1

Mar

Q2

Apr

May

FYTD

รายจ่ายปีปัจจุบัน

[billions of baht]

2,932.7

982.2

248.3

709.8

216.1

190.7

2,098.7

[%YoY]

?

2.6 ?

0.1 ?

8.8 +17.1

+11.4

+7.1

+7.0

รายจ่ายประจา

[billions of baht]

2,516.7

858.8

200.8

600.5

185.6

150.9

1,795.7

[%YoY]

?

2.6 ?

3.1 ?

13.2 +16.5

+14.3

+6.1

+5.2

รายจ่ายลงทุน

[billions of baht]

415.9

123.4

47.5

109.2

30.5

39.8

303.0

[%YoY]

?

2.9 +27.3

+15.9

+20.0

?

3.5 +10.9

+18.6

รายจ่ายปีก่อน

[billions of baht]

213.7

58.9

16.3

44.5

10.2

9.0

122.6

[%YoY]

+8.7

?

22.0 ?

24.4 ?

22.7 +6.6

?

19.7 ?

20.3

รายจ่ายรวม

[billions of baht]

3,146.3

1,041.1

264.6

754.3

226.3

199.6

2,221.3

[%YoY]

?

1.9 ?

1.7 ?

10.0 +13.6

+11.2

+5.5

+5.0

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. 66ได้ 264,789ล้านบาท หดตัวร้อยละ -6.5ต่อปี ทาให้ในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 จัดเก็บได้สุทธิ 1,643,075 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ4.9ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน พ.ค. 66หดตัวจากภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ที่หดตัวร้อยละ -15.0รัฐวิสาหกิจที่หดตัวร้อยละ -30.1ต่อปีและภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน ที่หดตัวร้อยละ -26.2 ต่อปี

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค. 66พบว่าดุลเงินงบประมาณเกินดุลจานวน 8,952ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่ขาดดุล 17,409 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 8,457 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล 33,618 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดหลังกู้เกินดุล 25,161 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 256,857ล้านบาท

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ค. 666ขาดดุลที่ 2,766.072,766.07ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังขาดดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 581.31581.31ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน พ.ค. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 2,820.582,820.58ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 54.5154.51ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666เกินดุลรวม 121.59121.59ล้านดอลลาร์สหรัฐ

Current Account

8

ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน พ.ค. 666มียอดคงค้าง 20.3 99ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.31.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน พ.ค. 666มียอดคงค้าง 24. 6363ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.02.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.11จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.40.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 2.22.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวที่ร้อยละ

0.40.4จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อนละ 1.21.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 4.14.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับหนี้ครัวเรือนไทยล่าสุด ณ สิ้นสุดไตรมาส 1 ปี 25662566มีสัดส่วนร้อยละ 90.6ต่อ GDP

หรือคิดเป็นประมาณ15.96ล้านล้านบาท

โดยหนี้ครัวเรือนไทยไตรมาส 1 ปี 25662566อยู่ที่ระดับร้อยละ 90.6ต่อ GDPGDPลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 91.4ต่อ GDPGDPและลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 93.8ต่อ GDPGDPทั้งนี้ การลดลงของสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDPGDPในไตรมาส 1 ปี 2562566 ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก GDPGDPณ ราคาปัจจุบัน ณ ไตรมาสที่ 1 ปี 6666ที่ขยายตัวร้อยละ 2.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตลอดจน การหดตัวในส่วนของหนี้รถยนต์และรถจักรยานยนต์ และหนี้เพื่อการศึกษา

หนี้ครัวเรือน ต่อ GDP

9

ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย

หนี้ครัวเรือน แบ่งตามวัตถุประสงค์

เพื่อซื้ออสังหาริมทรัพย์33.5

เพื่อซื้อ/เช่าซื้อยานยนต์11.3

เพื่อการศึกษา4.4

เพื่อการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล26.8

เพื่อการประกอบอาชีพ18.2

อื่น ๆ 5.8

91.40

90.60

0%

20%

40%

60%

80%

100%

120%

0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017

2018

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

Q2

Q3

Q4

Q1

2019

2020

2021

2022

2023

%

ต่อ GDP

ล้านล้านบาท

ระดับหนี้ครัวเรือน

% หนี้ครัวเรือนต่อ GDP ( แกนขวา)

หมายเหตุ: ธปท. ได้มีการปรับปรุงความครอบคลุมของสถิติเงินให้กู้ยืมแก่ภาคครัวเรือนให้มีความครบถ้วนขึ้นมาจากผู้ให้กู้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กยศ. 2) สหกรณ์อื่น ๆ (ที่ไม่ใช่สหกรณ์ออมทรัพย์) 3) การเคหะแห่งชาติ และ 4) พิโกไฟแนนซ์ส่งผลให้หนี้ครัวเรือนต่อ GDP ไตรมาสที่ 1 ปี 66 เพิ่มขึ้นจากข้อมูลก่อนการปรับปรุงร้อยละ 4.3 ต่อ GDP และหนี้ครัวเรือนต่อ GDP ไตรมาสที่ 4 ปี 65 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน เม.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.5 เป็นผลจากดัชนีราคากลางบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในเขต Mountain, East North Central, West South Central, South

Atlantic, และ Northeast

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.5 โดยยอดขายบ้านขยายตัวเพิ่มขึ้นในเขต Northeast และ West

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (18 -24 มิ.ย. 66) อยู่ที่ 2.39 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.65 แสนราย ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.65 แสนราย และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4 สัปดาห์ สะท้อนถึงตลาดแรงงานสหรัฐฯ มีความยืดหยุ่นต่อต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้นตามการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยของเฟดซึ่งช่วยบรรเทาความกังวลต่อการอ่อนแอของตลาดแรงงานสหรัฐฯ ลงได้ ขณะที่ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.57แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 66 หดตัวร้อยละ -0.70 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ขยายตัวร้อยละ 0.7 ทั้งนี้ ผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวเป็นเดือนที่ 33ติดต่อกัน โดยได้รับแรงหนุนจากการขยายตัวของเครื่องจักรอเนกประสงค์และเชิงธุรกิจ เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ลดลงจากร้อยละ 3.5ในเดือนก่อนหน้า จากต้นทุนที่ชะลอลงในสินค้าหมวดเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นสาคัญ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิตและบริการ (Jibun Bank Composite PMI) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.3 ลดลงจากระดับ 54.3ในเดือนก่อนหน้า จากการเติบโตที่ชะลอลงของกิจกรรมภาคเอกชน

ญี่ปุ่น

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มิ.ย. 66 ( อยู่ที่ระดับ -16.1 จุด เพิ่มขึ้นสู่ระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65 และดีกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ -17.0จุด บ่งชี้การฟื้นตัวของความเชื่อมั่นผู้บริโภคหลังจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การรุกรานรัสเซียของยูเครนเครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 49.0 จุด ตามคาดการณ์ตลาด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.8 จุด อย่างไรก็ดี ดัชนีฯ ยังคงอยู่ในระดับต่ากว่า 50จุด บ่งชี้ถึงการหดตัวของกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรม โดยเป็นผลจากยอดการส่งออก การจ้างงาน และกิจกรรมการซื้อที่ปรับตัวลดลง เป็นสาคัญ

ดัชนีฯ PMIPMIนอกภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 53.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.5จุด โดยเป็นการลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3ติดต่อกัน อย่างไรก็ดี ดัชนีที่สูงกว่าระดับ 50บ่งชี้ว่าภาคบริการของจีนยังคงมีการขยายตัว

จีน

ฮ่องกง

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน พ.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -15.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -13.0 โดยเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13 ติดต่อกัน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4 เดือน แต่ดีกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะหดตัวถึงร้อยละ -17.3เป็นผลจากการส่งออกสินค้าโภคภัณฑ์ที่ลดลงเป็นสาคัญ โดยเฉพาะเครื่องจักรอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องใช้สานักงาน และอุปกรณ์ถ่ายภาพ

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน พ.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -16.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -11.9 โดยเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 ติดต่อกัน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน รวมถึงต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ -13.5

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 66 ขาดดุลที่ -26.4 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -36.6พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง และเป็นการขาดดุลในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน

สิงคโปร์

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -10.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน มากกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ -7.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -6.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ออสเตรเลีย

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 4.214.21จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.254.25จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.70.7เมื่อเทียบจากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความยืดหยุ่นในการใช้จ่าย โดยผู้บริโภคใช้ประโยชน์จากกิจกรรมส่งเสริมการขายต่าง ๆ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ไต้หวัน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -15.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -22.6นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12อันเนื่องจากการชะลอตัวของภาคส่วนกิจกรรมการผลิต และภาคส่วนไฟฟ้าและแก๊ส เป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.5 เป็นการขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 65จากการเพิ่มขึ้นของยอดขายสินค้าในหมวดเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย และหมวดยานยนต์และส่วนประกอบเป็นสาคัญ

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.56ของกาลังแรงงานรวม นับเป็นการว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ธ.ค. 43

เกาหลีใต้

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 100.7 จุด ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดนับจาก พ.ค. 65ท่ามกลางกิจกรรมการบริโภคที่เพิ่มขึ้นหลังการแพร่ระบาด และอัตราเงินเฟ้อที่ผ่อนคลายลง

ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน มิ.ย. 66อยู่ที่ระดับ 73จุด เท่ากับเดือนก่อนหน้า โดยอุปสงค์ในตลาดโลกลดลง ขณะที่ อุปสงค์ภายในประเทศและยอดขายเพิ่มขึ้น

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -7.3 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.2

สหราชอาณาจักร

GDP

ไตรมาส 1 ปี 66 (ปรับปรุงแล้ว) ขยายตัวร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 0.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

ยอดผลิตรถยนต์เดือน พ.ค. 66 อยู่ที่ 79,046 หน่วย ขยายตัวร้อยละ 27 จากปีก่อนหน้า และเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4

เวียดนาม

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 7ติดต่อกัน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 4.1เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 6.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 11.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.43จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน มิ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -11.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -9.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มิ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -16.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -20.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 66 เกินดุลที่ 26.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 26.0พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นIDX อินโดนีเซีย Hang SengSeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2 99มิ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,479.571,479.57จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 26 2 99มิ.ย. 6666อยู่ที่ 44,138.2144,138.21ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2626-2929มิ.ย. 66นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 493.42 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 22ถึง 33ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 2 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 55ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 11ถึง 3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2121ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.61.6เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่26 2929มิ.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,980.642,980.64ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2929มิ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 81 ,765.45,765.45ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2929มิ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 35.6535.65บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 2.082.08จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐขณะที่เงินสกุลเปโซ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ

2.08

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ