รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 18 ส.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Thursday August 24, 2023 13:29 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.ค. 66 เพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 92.3

? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.ค. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 55.6

? ปริมาณการจ หน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ก.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ยูโรโซน ไตรมาสที่ 2 ปี 66 (ตัวเลขปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวร้อยละ 0.6 จากช่วง

เดียวกันปีก่อน

? GDP มาเลเซีย ไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP ญี่ปุ่น ไตรมาสที่ 2 ปี 66 (เบื้องต้น) ขยายตัวร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

? GDP ฮ่องกง ไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม

TISI)เดือน ก ค . 66 ล ดลง มาอยู่ที่ระดับ 92 3จากระดับ 94.1 ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี

TISIเดือน ก ค . 66 ลดลงอีกครั้งในเดือนนี้ และปรับตัวลงต่ำสุดในรอบ 10 เดือน โดยลดลง ในทุกองค์ประกอบของดัชนี

ทั้ง ยอดคำสั่งซื้อ โดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และผลประกอบการ จากความเชื่อมั่นที่ลดลง

ทั้งด้านอุปสงค์โดยรวมที่ชะลอตัวจากปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง และเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความเปราะบาง

รวมถึงเศรษฐกิจจีนที่มีแนวโน้มขยายตัวต่ำกว่าคาด ประกอบกับความล่าช้าในการจัดตั้งรัฐบาล ส่งผลกระทบต่อ

ภาคเอกชนที่ยังคงรอความชัดเจนในด้านนโยบายต่าง ๆ เพื่อการลงทุนใหม่ สำหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า

เดือน ก ค . 66 อยู่ที่ระดับ 10100 2 ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 จากความล่าช้าในการจัดตั้งรัฐบาลที่อาจจะกระทบ

กับการจัดสรรงบประมาณในระยะถัดไป

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก

ค . 66 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 55 6 จากระดับ 56 7

ในเดือนก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวลดลงครั้งแรกในรอบ 14 เดือน

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคได้รับปัจจัยลบ

จากความไม่แน่นอนในการจัดตั้งรัฐบาล และเสถียรภาพทางการเมืองหลังจัดตั้งรัฐบาลยัง

สร้างความกังวลต่อผู้บริโภค รวมถึงความกังวลทางด้านรายได้ที่ไม่สอดคล้องกับค่าครองชีพที่ปรับตัวสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ดี

จำนวน นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดเม็ดเงินหมุนเวียนและกิจกรรมเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ มากขึ้น

ประกอบกับราคาพืชผลทางการเกษตรหลายรายการปรับตัวดีขึ้นหรือทรงตัวในระดับดีในสินค้าหลายรายการสำคัญ ส่งผลให้

เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น ทำให้กำลังซื้อในต่างจังหวัดเริ่มปรับตัวดีขึ้น เช่นเดียวกับราคาน้ำมันดีเซลขายปลีกในประเทศที่ยังคง

ทรงตัวในเดือนที่ผ่านมา

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ก.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน

Cement Sales

5.6

1.9

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0 %YoY %MoM_Sa

ในเดือน ก.ค. 66 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 4

เนื่องจากมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ และการเพิ่มของการลงทุนภาคอสังหาริมทรัพย์ส่งผลทาให้

มีความต้องการใช้ปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้น แต่ขณะที่ราคาวัสดุก่อสร้างในหนวดซีเมนต์ยังคงอยู่ในระดับสูงเนื่องจากต้นทุน

ของวัตถุดิบ

เครื่องชี้

เศรษฐกิจต่างประเทศ

ยอดค้าปลีก เดือน ก

ค . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3 2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.6 ซึ่งสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 1.5 และเป็นระดับที่สูงที่สุด

ในรอบ 5 เดือน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก

ค . 66 หดตัวที่ร้อยละ 0 2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน ก

ค . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3 9 จากเดือนก่อนหน้า หลังขจัดผลทาง

ฤดูกาลแล้ว ) หลังจากหดตัวตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 11.7 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้าน

เดี่ยวที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นสำคัญ

ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ ดือน ก

ค . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0 1 จากเดือนก่อนหน้า

หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว ) หลังจากหดตัวตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.7 โดยเป็นผล

จากยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านเดี่ยวที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น

จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์

6 12 ส ค . 66 ) อยู่ที่ 2 39 แสนราย

ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.50 แสนราย และต่ำกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.40

แสนราย ขณะที่ จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ fourweekmoving average)ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.34

แสนราย

สหรัฐอเมริกา

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 ตัวเลขปรับปรุงครั้งที่ 2 ) ขยายตัวร้อยละ 0 6 จากช่วงเดียวกันปี

ก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.3

เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว )

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ

ย . 66 หดตัวร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวน้อยกว่าที่ตลาด

คาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 4.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าส่งออก เดือน มิ

ย . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0 3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัว

อีกครั้งหลังจากที่หดตัวร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ในเดือนก่อนหน้า

มูลค่าการนำเข้า เดือน มิ

ย . 66 หดตัวที่ร้อยละ 17 7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อน

หน้าที่หดตัวร้อยละ 13.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มิ

ย . 66 เกินดุลอยู่ที่ 23 0 พันล้านยูโร เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุล

อยู่ที่ 0.3 พันล้านยูโร

ค . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3 7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4 4 และต่ำกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 4 4

ส่งผลให้ในช่วง 7 เดือนแรกของปีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของจีนขยายตัวที่ร้อยละ 3 8

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน ก

ค . 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2 5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจาก

เดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3 1 ต่ำกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 4 5 และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดในรอบ

7 เดือน ทั้งนี้ ในช่วง 7 เดือนแรกของปียอดค้าปลีกของจีนขยายตัวที่ร้อยละ 7 3

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อัตราการว่างงานในเขตเมือง เดือน ก

ค . 66 อยู่ที่ร้อยละ 5 3 ของกำลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจาก

3 เดือนก่อนหน้าที่ทรงตัวอยู่ที่ร้อยละ 5.2 ของกำลังแรงงานรวม

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2 9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาส

ก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.6 หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับไตรมาส

ก่อนหน้า หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว )

มูลค่าส่งออก เดือน ก

ค . 66 หดตัวที่ร้อยละ 13 1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อน

หน้าที่หดตัวร้อยละ 14.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนำเข้า เดือน ก

ค . 66 หดตัวที่ร้อยละ 15 9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อน

หน้าที่หดตัวร้อยละ 18.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก

ค . 66 เกินดุลอยู่ที่ 17 1 พันล้านริงกิ ต มาเลเซีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุลอยู่ที่ 17 1 พันล้านริงกิ ต มาเลเซีย

มาเลเซีย

มูลค่าส่งออก เดือน ก

ค . 66 หดตัวที่ร้อยละ 18 3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อน

หน้าที่หดตัวร้อยละ 21.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนำเข้า เดือน ก

ค . 66 หดตัวที่ร้อยละ 8 3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อน

หน้าที่หดตัวร้อยละ 18.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก

ค . 66 เกินดุลอยู่ที่ 19 6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่

เกินดุลอยู่ที่ 17.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

GDPไตรมาส 2 ปี 66 เบื้องต้น ) ขยายตัวร้อยละ 2 0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัว

ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ

ย . 66 ขยายตัวร้อยละ 0.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก

ค . 66 ขาดดุล 78.73 พันล้านเยน โดยการนำเข้าหดตัวร้อยละ 13.5

ต่อปี ขณะที่การส่งออกหดร้อยละ 0 3 ต่อปี ท่ามกลางความอ่อนแอของอุปสงค์จาก

ต่างประเทศ และการแข็งค่าขึ้นของเงินเยน

คำสั่งซื้อเครื่องจักรหลัก

ไม่รวมเครื่องจักรสำหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า ) เดือน มิ ย . 66

หดตัวร้อยละ 5 8 จากปีก่อนหน้า หรือขยายตัวร้อยละ 2.7 จากเดือนก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก

ค . 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ต่อปี เท่ากับเดือนก่อนหน้า

ยอดขายรถยนต์โดยสาร เดือน ก

ค . ขยายตัวร้อยละ 2 9 จากปีก่อนหน้า หรือขยายตัวร้อยละ

1.6 จากเดือนก่อนหน้า โดยได้ปัจจัยสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่เป็นบวก

เป็นสำคัญ

ดุลการค้า เดือน ก

ค 66 ขาดดุล 20 67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยการส่งออกหดตัวร้อยละ

16.0 จากปีก่อนหน้า ขณะที่การนำเข้าหดตัวร้อยละ 17.0 จากปีก่อนหน้า

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก

ค . 66 ขยายตัวร้อยละ 7 44 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดนับ

จาก ม ค . 65 ขณะที่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.96 จากปัจจัย

การเพิ่มขึ้นของราคาอาหาร เชื้อเพลิง และค่าที่อยู่อาศัย เป็นสำคัญ

การส่งออกสินค้า

ไม่รวมน้ำมัน ) เดือน ก ค . 66 หดตัวร้อยละ 20 2 จากปีก่อน ซึ่งเป็น

การหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะหดตัวที่ร้อยละ

3.4 โดยมีปัจจัยจากการหดตัวของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์

เป็นสำคัญ

อัตราการว่างงาน เดือน มิ

ย . 66 อยู่ที่ร้อยละ 4 2 ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดนับจากช่วงปลายปี 64

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก

ค . 66 อยู่ที่ร้อยละ 6 8 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่ำสุดนับจาก

ก พ . 65 จากปัจจัยการลดลงขอราคาเชื้อเพลิงเป็นสำคัญ

สหราชอาณาจักร

อัตราการว่างงาน เดือน ก

ค . 66อยู่ที่ร้อยละ 3.7ของกำลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ร้อยละ 3.5 ของกำลังแรงงานรวม ออสเตรเลีย

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1 5 จากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2 9

จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นการหดตัวที่ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า

อัตราการว่างงาน เดือน ก

ค . 66 อยู่ที่ร้อยละ 2 8 ของกำลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ของกำลังแรงงานรวม

เครื่องชี้

ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี

SETปรับตัว ลดลง จากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับ

ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น

Nikkei225 ญี่ปุ่น ) Shanghai จีน ) TWSE(ไต้หวัน )และ

HangSeng(ฮ่องกง ) เป็นต้น เมื่อวันที่ 17ส ค . 666ดัชนีปิดที่ระดับ

1,528.81จุด ด้วย มูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 15?17ส ค . 66อยู่ที่ 53,684.69ล้าน บาทต่อวัน โดย นักลงทุนทั่วไปในประเทศ

และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุน

สถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่

15 17ส ค . 66 นักลงทุน ต่างชาติ ขาย หลักทรัพย์สุทธิ -3,917.27ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล

อายุ 1เดือน ถึง 20ปี ส่วนใหญ่

ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 10bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูล

พันธบัตรรัฐบาลอายุ 4ปี และ 21ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.2และ 1.1เท่าของวงเงินประมูล ตามลำดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 15?17ส ค . 66กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหล ออก จาก ตลาดพันธบัตรสุทธิ

-10,510.16ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 17ส ค 66กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหล ออก จาก ตลาดพันธบัตรสุทธิ

-112,325.89ล้านบาท

เงินบาทอ่อน

ค่าลง จากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 17ส ค . 666เงินบาทปิดที่ 35.52บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -2.44จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับ เงินสกุล อื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ

เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิ ต เป โซ วอน ดอลลาร์ไต้หวันใหม่ ดอลลาร์สิงคโปร์

และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลง จากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับ

ดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่า น้อย กว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค

ส่งผลให้ ดัชนีค่าเงินบาท NEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.21

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ