รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 8 ก.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday September 12, 2023 13:07 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ส.ค. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.9 ต่อปี และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น

ร้อยละ 0.8 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.2 ต่อปี

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวตัวที่ร้อยละ -5.5 ต่อปี

เศรษฐกิจไทย

ภาคการเงิน

? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ก.ค. 66 คิดเป็น 1.93 เท่าของ

สินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP ออสเตรเลีย ไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP เกาหลีใต้ ไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ส.ค. 66สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.9ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวในระดับต่าที่ร้อยละ 0.9 (สูงกว่าที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. ที่ร้อยละ 0.6) โดยมีปัจจัยหลักจากการสูงขึ้นของราคาน้ามันเชื้อเพลิง (น้ามันเบนซินและแก๊สโซฮอล์) หลังจากที่ติดลบต่อเนื่องมา 5 เดือน รวมทั้งราคาข้าวสารเจ้าและข้าวสารเหนียว จากความกังวลต่อปรากฎการณ์เอลนีโญที่ส่งผลให้ผลผลิตข้าว ลดลง นอกจากนี้ ไข่ไก่ ผักและผลไม้สด ราคาปรับสูงขึ้นเช่นกัน สาหรับสินค้าสาคัญ ที่ราคาลดลง ได้แก่ เนื้อสุกร และน้ามันพืช ราคายังคงลงลดอย่างต่อเนื่อง และเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นร้อยละ 0.6 (MoM)

และเมื่อเทียบเฉลี่ย 8 เดือน (ม.ค ส.ค.) 66 สูงขึ้นร้อยละ 2.0 (AoA ทั้งนี้ เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY พบว่าหมวดสินค้าที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) หมวดไฟฟ้าเชื้อเพลิง น้าประปา 2)หมวดผักและผลไม้ 3) หมวดอาหารสาเร็จรูป ที่ยังคงเป็นปัจจัยบวกทาให้เงินเฟ้อสูงขึ้นที่ร้อยละ 0.4 0.3 และ 0.3 ตามลาดับ และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวร้อยละ 0.8 (YoY)

เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าทรงตัวที่ร้อยละ 0.02 (MoM)

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ 0.20.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ส.ค. 66 หดตัวเมื่อเทียบปีที่ผ่านมาซึ่งเป็นการหดตัวลงเป็นเดือนที่ 55โดยเป็นผลมาจากดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กที่ปรับตัวลดลงร้อยละ 2.02.0ตามราคาเหล็กในตลาดโลกที่มีทิศทางลดลง จากปริมาณเหล็กที่อยู่ในตลาดที่สูงและปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ในจีน ขณะที่ดัชนีราคาหมวดอื่น ๆ สูงขึ้นได้แก่ หมวดวัสดุฉาบ หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้และหมวดสุขภัณฑ์ที่ขยายตัวร้อยละ 3.33.3ร้อยละ 3.23.2และร้อยละ 1.66ตามลาดับ เนื่องจากต้นทุนของสินค้าวัสดุก่อสร้างสูงขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

ที่มา กรมการขนส่งทางบก

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ส.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -5.5ซึ่งเป็นครั้งแรกในรอบ 7เดือน เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -8.6

โดยได้รับปัจจัยลบจากมาตรการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดของสถาบันการเงิน จากกรณีหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้น ส่งผลให้กระทบต่อกาลังซื้อของผู้บริโภค แต่อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยยังคงได้รับปัจจัยสนับสนุนจากฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวเป็นสาคัญ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ปรับตัวลดลงในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนภาพรวมของการบริโภคภาคเอกชนในปัจจุบัน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ก.ค.666คิดเป็น 1.9393เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ก.ค. 666อยู่ที่ 5.395.39ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (ISM) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 54.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.7 จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 52.5จุด และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 6เดือน เป็นผลจากกิจกรรมทางธุรกิจ คาสั่งซื้อใหม่ การจ้างงาน สินค้าคงคลัง และการส่งมอบสินค้าของซัพพลายเออร์ที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ก.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.6 ต่อปี หดตัวในอัตราเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -8.0ต่อปี และเป็นการหดตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบเกือบ 3ปี

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ก.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.8 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -10.0ต่อปี

ดุลการค้า เดือน ก.ค. 66 ขาดดุลที่ -9.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -90.0หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (27 ส.ค. -2 ก.ย. 66) อยู่ที่ 2.16 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.29แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.34แสนราย สอดคล้องกับจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1.90 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.1 จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 53.6 จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 8เดือน ท่ามกลางแรงกดดันทางเศรษฐกิจ โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากอุปสงค์จากต่างประเทศที่ลดลง ส่งผลให้ยอดคาสั่งซื้อจากต่างประเทศซบเซา

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.8 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -14.5 ต่อปี และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ -9.2 ต่อปี อย่างไรก็ตาม การนาเข้าของจีนยังคงหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ส่งผลให้การส่งออกในช่วง 8เดือนแรกของปีหดตัวที่ร้อยละ -5.6ต่อปี

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.3 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -12.4 ต่อปี และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ -9.0 ต่อปี อย่างไรก็ตาม การนาเข้าของจีนยังคงหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6ส่งผลให้การนาเข้าในช่วง 8เดือนแรกของปีหดตัวที่ร้อยละ -7.6ต่อปี

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 เกินดุลที่ 68.36 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 80.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3เดือน

GDPไตรมาส 2 ปี 66 (Final) ขยายตัวร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -2.5 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ครึ่งปีแรก GDP ขยายตัวร้อยละ 1.8ต่อปี

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคบริการขั้นสุดท้าย เดือน ส.ค. 66ของญี่ปุ่น จาก Jibun BankBankอยู่ที่ 54.3 เพิ่มขึ้นจากระดับ 53.8 ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12ของภาคบริการ โดยได้แรงหนุนจากคาสั่งซื้อใหม่ ธุรกิจต่างประเทศ และการจ้างงาน ที่เพิ่มขึ้น

ญี่ปุ่น

GDP

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 (Final) ขยายตัวร้อยละ 0.9 ต่อปี เท่ากับอัตราการขยายตัวในไตรมาสก่อนหน้า โดยเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า GDPGDPเกาหลีใต้ ขยายตัวร้อยละ 5.3 ทั้งนี้ จากอัตราการขยายตัวดังกล่าว ส่งผลให้ครึ่งปีแรกของปี 66 GDPGDPเกาหลีใต้ ขยายตัวร้อยละ 0.9ต่อปี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 ต่อปี สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 2.7และนับเป็นระดับสูงสุดนับจากเดือน เม.ย. เป็นต้นมา จากการเร่งตัวขึ้นของราคาสินค้า เป็นครั้งแรกในรอบ 7เดือน

เกาหลีใต้

GDP

GDPไตรมาสที่ 22ปี 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1ต่อปี ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 จากไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ซึ่งได้รับแรงหนุนจากการส่งออกและการลงทุนที่ฟื้นตัว แม้ว่าการอุปโภคบริโภคของภาคครัวเรือนยังคงอ่อนแอเนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ระดับสูงสุดในรอบ 10ปีได้ส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ของผู้บริโภค

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Judo BankBank) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.9จุด นับเป็นระดับที่ต่าที่สุดตั้งแต่เดือน ม.ค. 66จากอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นและภาวะเศรษฐกิจที่อ่อนตัวลงทาให้อุปสงค์ชะลอตัวลง

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.12 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.31จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -17.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ค. 66 เกินดุลที่ระดับ 7.87.8พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 12.8พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -15.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวมากขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -15.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6ติดต่อกัน

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.8 จากกาลังแรงงานทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.5

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.7จากช่วงเดียวกันปีก่อนยอดจดทะเบียนรถยนต์โดยสารใหม่ เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 24.4 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 28.3 ต่อปี และยังคงอยู่ต่ากว่าระดับก่อนการแพร่ระบาดที่ร้อยละ 7.5

ดัชนี PMI ภาคบริการ ของ S&P Global/CIPS UK (Final) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ 49.5 สะท้อนการชะลอตัวเป็นครั้งแรกของกิจกรรมภาค นับตั้งแต่เดือน ม.ค. เป็นต้นมา ท่ามกลางความอ่อนแอของการใช้จ่ายธุรกิจและผู้บริโภค รวมถึงผลกระทบของต้นทุนการกู้ยืมที่เพิ่มขึ้น

ดัชนี PMI การก่อสร้าง ของ S&P Global/CIPS UK เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ 50.8ลดลงจาก 51.7 ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมทางธุรกิจ เนื่องจากการเติบโตของภาคส่วนวิศวกรรมเชิงพาณิชย์และโยธา ที่ช่วยชดเชยการตกต่าของการก่อสร้างบ้าน

สหราชอาณาจักร

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -15.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวมากขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -15.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6ติดต่อกัน

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.8 จากกาลังแรงงานทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.5

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ฟิลิปปินส์

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 60.9 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 61.9จุด แต่ยังคงสะท้อนการขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดในรอบ 12ปี

อินเดีย

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.1 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.0 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า จากยอดขายที่เพิ่มขึ้นในส่วนของสินค้าร้านสะดวกซื้อ เครื่องนุ่งห่ม รองเท้า และเฟอร์นิเจอร์ เป็นสาคัญ

ดัชนี PMI ของ S&P Global Singapore เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ 53.6 จุด จากระดับต่าสุดในรอบ 5 เดือน ในเดือน ก.ค. 66 บ่งชี้ไปที่การขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6ของกิจกรรมภาคเอกชน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.52 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.88 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.10และสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารที่ตั้งไว้ที่ร้อยละ 2.00อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาอาหารและค่าขนส่งเป็นสาคัญ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) และ DAX เยอรมนี) เป็นต้น เมื่อวันที่ 77ก.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,550.361,550.36จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 4 77ก.ย. 6666อยู่ที่46,630.2846,630.28ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 44-77ก.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -3,550.043,550.04ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 66-18 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66และ 2626ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.61.6และ 1.31.3เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่4 77ก.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -2,508.82,508.8ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่77ก.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 118,305.7118,305.7ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่77ก.ย. 666เงินบาทปิดที่ 35.5835.58บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 1.81.87จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -1.17

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ