เศรษฐกิจต่างประเทศ
GDP ยูโรโซน ไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.2 ต่อปี และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.6 ต่อปี โดยเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าและราคาน่ามันที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เป็นส่าคัญ ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อกลับมาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน หลังจากก่อนหน้านี้ปรับตัวลดลงต่อเนื่องติดต่อกัน 12 เดือน
สหรัฐอเมริกา
ยอดค่าสั่งซื้อเครื่องจักร (Machine Tool Orders) เดือน ส.ค. 66 หดตัวลงร้อยละ -17.6 ต่อปี จากอุปสงค์ในประเทศที่ลดลง เป็นส่าคัญ ขณะที่อุปสงค์จากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาตั้งแต่เดือน ม.ค.-ส.ค. 66 ยอดค่าสั่งซื้อเครื่องจักรหดตัวรวมร้อยละ 16.4 ต่อปีค่าสั่งซื้อเครื่องจักรหลัก (ไม่รวมเครื่องจักรส่าหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า) เดือน ก.ค. 66หดตัวร้อยละ -13.0จากปีก่อนหน้า หรือหดตัวตัวร้อยละ -1.1จากเดือนก่อนหน้า
ญี่ปุ่น
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับจากการเริ่มท่าชุดข้อมูลในเดือน มิ.ย.42
เกาหลีใต้
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 6666คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.7 ของก่าลังแรงงานรวม
ออสเตรเลีย
GDP
GDPไตรมาสที่ 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.1หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.1เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 66หดตัวร้อยละ -2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้ง หลังจากเดือนก่อนหน้าหดตัวที่ร้อยละ -2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 66อยู่ที่ร้อยละ 3.4ของก่าลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า
มาเลเซีย
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.7จุด
เวียดนาม
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อินโดนีเซีย
อัตราการว่างงาน ในช่วงไตรมาสที่ 2 ปี 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับจากไตรมาสที่ 3ปี 64
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial production) เดือน ก.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 0.4ต่อปี ชะลอลงจากร้อยละ 0.7 ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ นับเป็นเดือนที่สองติดต่อกันของการเติบโตของกิจกรรมทางอุตสาหกรรม หลังจากหดตัวติดต่อกันนานกว่าหนึ่งปีครึ่ง
สหราชอาณาจักร
ยอดขายรถยนต์ในตลาดอินเดีย ( passenger vehicle sales) เดือน ส.ค. ขยายตัวร้อยละ 11.6 ต่อปี ขยายตัวต่อเนื่องจากร้อยละ 2.9ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial production) เดือน ก.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 5.7ต่อปี เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.7ต่อปี
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66อยู่ที่ร้อยละ 6.8ต่อปี ลดลงจากร้อยละ 7.4ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า จากปัจจัยการลดลงของราคาอาหาร เป็นส่าคัญ
อินเดีย
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว)(Final) ไตรมาส 2 ปี 66 อยู่ที่ร้อยละ 1.9 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.8ในไตรมาสก่อนหน้า
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Hang HengHeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1313ก.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,535.311,535.31จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 11 1313ก.ย. 6666อยู่ที่42,304.4742,304.47ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1111-1313ก.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -4,882.634,882.63ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1212-23 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 44และ 3131ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.131.13และ 1.041.04เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่11 1313ก.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -3,161.393,161.39ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1313ก.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ
127,140.85127,140.85ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่1313ก.ย. 666เงินบาทปิดที่ 35.7035.70บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.570.57จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน เปโซ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.55
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง