รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 22 ก.ย. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Friday September 22, 2023 13:42 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือน ส.ค. 66 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 ต่อปี และดัชนีราคา

สินค้าเกษตรกรรม ในเดือน ส.ค. 66 ลดลงร้อยละ -3.0 ต่อปี

? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ส.ค. 66 ลดลงอยู่ที่ระดับ 91.3

? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ส.ค. 66 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 56.9

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ

-15.1 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวร้อยละ -2.4 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ส.ค. 66 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวร้อยละ -19.9 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.4 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนส.ค.66 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค.66พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว ร้อยละ 1.3 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 4.0 และหมวดประมงขยายตัว ร้อยละ 2.8 ผลผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น ยกเว้น ปาล์มน้ามัน และไข่ไก่ ปรับตัวลดลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ส.ค.66 ปรับตัวลดลง ร้อยละ -3.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 66 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 2.3 หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมง ปรับตัวลดลง ร้อยละ -16.6 และ ร้อยละ -25.1 ตามลาดับ โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผลและไข่ไก่ สินค้าที่ปรับตัวลดลง ได้แก่ สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไม

Indicators (%yoy)

2022

2023

ทั้งปี

Q1

Q2

Jul

Aug

YTD

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร

1.8

4.1

0.4

0.2

2.1

3.0

%mom_sa, %qoq_sa

2.0

3.1

-1.7

-4.7

0.3

2.0

ดัชนีราคาสินค้าเกษตร

11.6

-1.3

-5.4

-3.7

-3.0

-3.4

%mom_sa, %qoq_sa

11.7

-4.7

-1.4

3.8

1.0

-3.4

3

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ส.ค. 66 ปรับตัวลดลง ร้อยละ -1.7 แหล่งที่มาของการขยายตัวมาจาก ข้าวเปลือกและ กลุ่มไม้ผล เป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

4

ดัชนี TISITISIเดือน ส.ค. 6666ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 และปรับตัวลงต่าสุดในรอบ 1 ปี โดยลดลงในเกือบทุกองค์ประกอบของดัชนี ทั้งยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการ โดยมีเพียงต้นทุนประกอบการ ที่ปรับตัวดีขึ้น สาหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นเดือนนี้ มาจากภาคการส่งออกที่ชะลอตัวต่อเนื่อง ปัญหาหนี้ครัวเรือนและหนี้ภาคธุรกิจที่อยู่ในระดับสูงหลังจากอัตราดอกเบี้ยนโยบายขาขึ้น สถานการณ์เอลนีโญที่อาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตภาคเกษตร รวมถึงความกังวลต่อนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลผสมสาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 99.5ลดลงต่ากว่าระดับ 100ในรอบ 8เดือน จากภาคการส่งออกที่ยังชะลอตัว อุปสงค์ในประเทศที่ฟื้นตัวช้า และความกังวลต่อนโยบายภาครัฐที่อาจส่งผลต่อต้นทุนการผลิต

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ส.ค. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 91.33จากระดับ 92.3ในเดือนก่อนหน้า

ที่มา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Thai Industries Sentiment Index : TISI

91.3

99.5

70.0

75.0

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Feb-19

May-19

Aug-19

Nov-19

Feb-20

May-20

Aug-20

Nov-20

Feb-21

May-21

Aug-21

Nov-21

Feb-22

May-22

Aug-22

Nov-22

Feb-23

May-23

Aug-23

TISI

TISI (E)

Indicators

2023

ทั้งปี

Q1

Q2

Jul

Aug

YTD

TISI

89.3

96.0

93.9

92.3

91.3

94.1

TISI (E)

98.2

103.5

103.8 100.2

99.5

10

102 7

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ส.ค. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 56.956.9จากระดับ 55.655.6ในเดือนก่อน ปรับตัวดีขึ้นอีกครั้งหลังจากเดือนที่แล้วปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ14เดือน

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคได้รับปัจจัยสนับสนุนจากความเชื่อมั่นในการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ว่าจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว หลังจากมีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีเรียบร้อยแล้ว และยังแสดงให้เห็นถึงภาพทางการเมืองไทยที่จะมีเสถียรภาพมากขึ้นในหลังจากนี้ อย่างไรก็ตาม ความกังวลเกี่ยวกับค่าครองชีพ สถานการณ์เศรษฐกิจที่โลกชะลอตัวลง ตลอดจนอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้น อาจเป็นปัจจัยกดดันกาลังซื้อของประชาชน และทาให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับตัวลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ส.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -15.1ต่อปี และชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -1.8

เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 (%YoY) โดยมีสาเหตุมาจากการบริโภคภาคเอกชนที่ปรับตัวดีขึ้น ประกอบกับเงินเฟ้อที่หดตัวลงช่วยลดแรงกดดันค่าครองชีพของประชาชนทาให้กาลังซื้อผู้บริโภคปรับเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -30.6 (%YoY) สาเหตุจากการหดตัวของมูลค่าการนาเข้าในกลุ่มสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ปรับตัวลดลง และปัจจัยฐานสูงในปีก่อนหน้า

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ 2.52.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ 0.10.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน มีปัจจัยมาจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังไม่เต็มที่ ภาวะดอกเบี้ยขาขึ้นส่งผลให้ความสามารถในการซื้อที่อยู่อาศัย รวมทั้งอัตราส่วนหนี้ครัวเรือนต่อจีดีพีที่อยู่ในระดับสูงและราคาที่อยู่อาศัยปรับตัวสูงขึ้น แต่ขณะเดียวกันภาคการท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามาเที่ยวในประเทศเพิ่มขึ้น รวมทั้งมาตรการฟรีวีซ่าของนักท่องเที่ยวชาวจีน จะส่งผลให้ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงเติบโตได้ดี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ส.ค. 66มีจานวน 23,645คัน ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -8.3

โดยปริมาณการจาหน่ายรถยนต์ได้รับปัจจัยบวกจากการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวจากทั้งในประเทศและต่างประเทศเป็นหลัก ประกอบกับอัตราว่างงานและอัตราเงินเฟ้อที่ทรงตัวอยู่ในระดับต่า ส่งผลให้ประชาชนมีความสามารถในการจับจ่ายใช้สอยเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้น ประกอบกับรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวลดลง รวมถึงมาตรการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ที่เข้มงวดขึ้น ยังคงเป็นปัจจัยกดดันต่อการบริโภคของประชาชนต่อไป

ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ส.ค. 66 มีจานวน 36,58936,589คัน หดตัวที่ร้อยละ -19.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 32.632.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ส.ค. 66 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 99และลดลงจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 3.83.8เนื่องจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ การขึ้นอัตราดอกเบี้ยและความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการอนุมัติสินเชื่อกับผู้ซื้อ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

7

ที่มา : 3 บริษัทเอกชน คานวณ โดย สศค.

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน

Cement Sales

5.4

1.2

-15.0

-10.0

-5.0

0.0

5.0

10.0

15.0

20.0 %YoY %MoM_Sa

ในเดือน ส.ค. 66 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 5

เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการลงทุนภาคอสังหาริมทรัพย์ ตามการฟื้นตัวของการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจส่งผลทาให้

มีความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในการก่อสร้างเพิ่มขึ้น แต่ขณะที่ราคาวัสดุก่อสร้างในหนวดซีเมนต์ยังคงอยู่ในระดับสูง

เนื่องมาจากต้นทุนของวัตถุดิบ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.0ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 3เดือน

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 4เดือน

ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน ส.ค. 66 กลับมาหดตัวที่ร้อยละ -11.3 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.0 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้านที่ปรับตัวลดลงในทุกประเภท ทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียม

ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ ดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.9 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.1และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 6เดือน โดยเป็นผลจากยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านที่เพิ่มขึ้นในทุกประเภท

คณะกรรมการกาหนดนโยบายการเงิน (FOMC) มีมติเป็นเอกฉันท์ในการประชุมครั้งที่ 6/66 ระหว่างวันที่ 19 20 ก.ย. 66 (ตามเวลาท้องถิ่น) ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 5.25 5.50ต่อปี ตามคาดการณ์ตลาด

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (10 -16 ก.ย. 66) อยู่ที่ 2.01 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.21 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.25แสนราย สอดคล้องกับ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week

moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ที่ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.17 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 ขาดดุล -930.5 พันล้านเยน โดยการส่งออกหดร้อยละ -0.8 ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2)ท่ามกลางความอ่อนแอของอุปสงค์จากต่างประเทศ (โดยเฉพาะจีน) ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -17.8ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5)

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ต่อปี ต่าสุดในรอบ 3 เดือน จากปัจจัยการลดลงของราคาน้ามัน ค่าน้า ค่าไฟ เป็นสาคัญ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 3.1ต่อปี

ญี่ปุ่น

ธนาคารกลางจีน (PBOC) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (LPR)

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

การส่งออก เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -18.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน ก.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -13.0 และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -16.3 นับเป็นการหดตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6และเป็นการหดตัวที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ พ.ค. 63อันเนื่องจากอุปสงค์โลกที่ชะลอตัวลงและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น

การนาเข้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -21.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน ก.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -16.1 และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -18.3 นับเป็นการหดตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 และเป็นการหดตัวที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ พ.ค. 63 อันเนื่องจากการหดตัวของการสั่งซื้อสินค้าขั้นกลาง (Intermediate Goods) และสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 เกินดุลอยู่ที่ 17.3 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 17.4 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าและเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาด ตัวเลขดังกล่าวนับเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค.64

มาเลเซีย

ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 5.755.75ต่อปี ตามที่ตลาดคาดการณ์ ซึ่งเป็นระดับที่สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้อให้อยู่ในกรอบเป้าหมายได้ทั้งปีนี้และปีหน้า นอกจากนี้ คณะกรรมการกาหนดนโยบายยังคงมุ่งเน้นไปที่การควบคุมเสถียรภาพของเงินรูเปียห์ท่ามกลางแรงกดดันใหม่ที่เกิดจากความไม่แน่นอนของตลาดการเงินโลก

อินโดนีเซีย

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 6.7 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าสุดนับจาก ก.พ. 65 จากปัจจัยการลดลงของราคาอาหารและที่อยู่อาศัย เป็นสาคัญ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนเดียวกัน อยู่ที่ร้อยละ 6.2ต่อปี ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับจาก มี.ค. 66

สหราชอาณาจักร

การส่งออกสินค้า (ไม่รวมน้ามัน) เดือน ส.ค. 66 หดตัวร้อยละ -20.1 ต่อปี ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะหดตัวที่ร้อยละ -3.8โดยมีปัจจัยจากการหดตัวของสินค้าประเภทอิเล็กทรอนิกส์และไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 เกินดุล 3 584.78ล้านดอลลาร์สิงคโปร์

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ธนาคารกลางของไต้หวันได้มีการประชุมในรอบเดือน ก.ย. 66 ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 1.875 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดและเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยครั้งที่สองหลังประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปในการประชุมเมื่อเดือน มี.ค.66 การประกาศคงอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวเป็นผลจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปของไต้หวันอยู่ในระดับใกล้เคียงกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่ธนาคารกลางตั้งไว้ที่ร้อยละ 2และเพื่อเป็นการสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจ

ไต้หวัน

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 5.3

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ -17.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -16.0 จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ -17.3 จุด และถือเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 66โดยต้นทุนการกู้ยืมที่เพิ่มขึ้นและแรงกดดันด้านเงินเฟ้ออย่างต่อเนื่องยังคงสร้างแรงกดดันต่อรายได้ครัวเรือน

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นShanghaiShanghai(จีน) Hang HengHeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2121ก.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,514.261,514.26จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 18 2121ก.ย. 6666อยู่ที่45,670.6945,670.69ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1818-2121ก.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 5,301.015,301.01ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 55-17 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1111ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.811.81เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่18 2121ก.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -2,494.542,494.54ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2121ก.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 133,393.44133,393.44ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2121ก.ย. 666เงินบาทปิดที่ 36.1736.17บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 1.211.21จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.92

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ