เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ส.ค. 66 หดตัวร้อยละ -7.5 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ส.ค. 66 หดตัว
ร้อยละ -1.2 ต่อปี
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน ส.ค. 66 ขยายตัว
ร้อยละ 107.7 ต่อปี
? มูลค่าการส่งออกในเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน ส.ค. 66
หดตัวร้อยละ -12.8 ต่อปี
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP (ปรับปรุงครั้งที่ 2) สหรัฐอเมริกา ไตรมาส 2 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
? GDP เวียดนาม ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ส.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -7.5ต่อปี และหดตัวร้อยละ 2.2เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
โดยดัชนีปรับลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 11 จากการผลิตในกลุ่มสินค้าเดิมที่ยังคงติดลบต่อเนื่อง ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ยางและพลาสติก และเฟอร์นิเจอร์ ที่หดตัวร้อยละ -19.0 -12.7 และ -26.6 ต่อปี ตามลาดับ* ประกอบกับยานยนต์ กลับมาหดตัวอีกครั้ง ที่ร้อยละ -12.3 ส่งผลให้เดือนนี้ มีเพียง อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับปิโตรเลียม และเคมีภัณฑ์ ที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 1.5 และ 4.4 ต่อปี ตามลาดับ* (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 2 หลัก ยังคงเป็นตัวสนับสนุนภาพรวม MPI ในเดือนนี้
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวที่ร้อยละ -1.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ส.ค. 66 หดตัวร้อยละ 1.21.2โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก เหล็กลวด และเหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม ที่หดตัวร้อยละ -35.0 -33.5 และ -20.4 ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ขณะที่ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเหล็กยังคงหดตัว เนื่องจากมีการนาเข้าสินค้าเหล็กราคาถูกจากจีน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?เดือน ส.ค. 66จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติปรับตัวลดลงลงเล็กน้อยจากเดือนก่อน โดยเป็นผลจากจานวนนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ยังไม่ฟื้นตัวและความกังวลจากภาวะเศรษฐกิจของต่างประเทศ อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้ดี จากบรรยากาศการท่องเที่ยวหน้าฝน?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ส.ค. 66 มีจานวน 2.47 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 107.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมีสาเหตุมาจากปัจจัยฐานต่าจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19ในปี 65 โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย จีน เกาหลีใต้ อินเดีย และเวียดนาม ตามลาดับ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวโดยภาพรวม ลดลงจากเดือนก่อนที่มีจานวน 2.49ล้านคน โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า หดตัวในอัตราร้อยละ -8.2โดยเป็นผลจากนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ยังไม่ฟื้นตัว ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางเข้ามามีจานวน 3.56แสนคน ลดลงจากเดือนก่อนที่มีจานวน 4.10จากการฟื้นตัวของสายการบินที่ยังฟื้นตัวไม่เต็มที่ และความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีต่อประเทศไทย โดยเฉพาะในเรื่องของความปลอดภัย อย่างไรก็ดี จานวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ โดยมีจานวน 4.39แสนคน จากเดือนก่อนที่มีจานวน 3.71แสนคน จากการที่มีวันหยุดปิดเทอมระยะสั้น (1สัปดาห์) ในมาเลเซีย
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยใน ส.ค. 66 มีจานวน 20.1 ล้านคน ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 20.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -6.2รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน ส.ค. อยู่ที่ 64,439 ล้านบาท ขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 22.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยอยู่ที่ 3,199บาท/คน/ทริป ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5ต่อปี
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน ส.ค. 66 มีมูลค่าอยู่ที่ 24,279.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 2.6เมื่อเทียบรายปี
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันและทองคา ขยายตัวร้อยละ 3.9 ทั้งนี้ กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ อุปกรณ์กึ่งตัวนาฯ หม้อแปลงไฟฟ้าฯ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องโทรศัพท์อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลไม้สดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง ผักสดแช่เย็นแช่แข็งและแห้ง ข้าว สิ่งปรุงรส ผักกระป๋องและแปรรูป นมและผลิตภัณฑ์ เป็นสาคัญ สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักส่วนใหญ่ขยายตัวดี อาทิ ตลาดสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร ทวีปออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง เป็นสาคัญ ทั้งนี้ การส่งออกในช่วง 8 เดือนแรกของปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -4.5 เมื่อเทียบรายปี
มูลค่าการนาเข้าในเดือน ส.ค.66 มีมูลค่า 23,919.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการหดตัวที่ร้อยละ -12.8 เมื่อเทียบรายปี
การนาเข้าของไทยหดตัวสินค้าในหมวดเชื้อเพลิง กลุ่มสินค้าทุน และกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป ขณะที่กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภคและกลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่งขยายตัวในเดือนดังกล่าว ทั้งนี้ การนาเข้าช่วง 8เดือนแรกของปี 66หดตัวเฉลี่ยร้อยละ-5.7เมื่อเทียบรายปี ด้านดุลการค้าในเดือน ส.ค. 66 กลับมาเกินดุลมูลค่า 359.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยช่วง 8 เดือนแรกปี 66 ขาดดุลสะสมที่ 7,925.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
GDP
USUSไตรมาส 2 ปี 66 (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 เมื่อคานวนแบบ annualized rate
ยอดขายบ้านใหม่ เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -8.7 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 8.0 โดยเป็นผลจากยอดขายบ้านเดี่ยวที่ลดลงมากที่สุดในรอบ 11เดือน สอดคล้องกับอัตราการจานองที่เพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ก.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.4และสูงกส่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 0.5
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (17-23 ก.ย. 66) อยู่ที่ 2.04 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.02 แสนราย แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 2.15 แสนราย ขณะเดียวกันจานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว คงที่จากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.11 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 เท่ากับเดือนก่อนหน้า โดยอัตราการว่างงานยังคงอยู่ในระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 66เป็นต้นมา โดยจานวนผู้ว่างงานเพิ่มขึ้น 10,000คนเป็น 1.85ล้านคน
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 7.0 จากปีก่อนหน้า เท่ากับเดือนก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.6ต่อปี โดยการค้าปลีกขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17เนื่องจากการบริโภคที่แข็งแกร่ง
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) ในญี่ปุ่น เดือน ส.ค. 66หดตัวลงร้อยละ -3.80จากปีก่อนหน้า
ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน ก.ย. 66หดตัวร้อยละ -2.8 ต่อปี จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.9ต่อปี
ญี่ปุ่น
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ -17.8 ต่าสุดในรอบ 6 เดือน โดยความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในยูโรโซนลดลงอย่างเห็นได้ชัดเป็นเดือนที่สองติดต่อกัน เนื่องจากผู้ตอบแบบสารวจเริ่มมีทัศนคติในด้านลบมากขึ้นเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงินของครัวเรือนในอนาคต และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศของตน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 5.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8ติดต่อกัน และหลังจากขจัดผลของฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 4.1
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 7.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.6นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22ติดต่อกัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.66 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.96จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าส่งออก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งหลีงจากที่หดตัวต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 66
มูลค่านาเข้า เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลีงจากที่หดตัวต่อเนื่องนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 65
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 เกินดุลที่ 2.29 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจาก 1.43พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนเดียวกันของปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 1.51.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.12.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ออสเตรเลีย
อัตราเงินเฟ้อ ณ เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าสุดนับจาก ม.ค. 65เป็นต้นมา โดยมาจากการลดลงของราคาอาหาร สินค้าคงทนภายในบ้าน และกิจกรรมสันทนาการ เป็นหลัก
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 65เป็นต้นมา
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (manufacturing production) เดือน ส.ค. 66หดตัวร้อยละ -12.1 จากปีก่อนหน้า เป็นการหดตัวที่มากที่สุดนับจาก พ.ย. 62 และเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 จากผลผลิตอิเล็กทรอนิกส์ที่ลดลงเป็นสาคัญ นับเป็นเดือนที่ 11 ติดต่อกันที่ลดลงอย่างรวดเร็วที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 62เป็นต้นมา สาเหตุหลักมาจากผลผลิตสาหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ลดลงอย่างมาก
อัตราการว่างงานเดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.42 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.42ของกาลังแรงงานรวม นับเป็นระดับการว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ธ.ค. 43
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน ส.ค. 66 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -10.53 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -15.46นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15
ยอดค้าปลีกเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.34 และเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 66จากยอดขายที่ลดลงของสินค้าในหมวดอาหารและเครื่องดื่ม อุปกรณ์การสื่อสาร และสินค้าเพื่อการนันทนาการ เป็นสาคัญ
ไต้หวัน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 99.7 จุด ลดลงจากระดับ 103.1 จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยขวัญกาลังใจของผู้บริโภคอยู่ในระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 66ท่ามกลางปัญหาเศรษฐกิจที่ชะลอตัว การส่งออกที่ตกต่า และกาลังซื้อที่อ่อนแอ
ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 67 ลดลงจากระดับ 72ในเดือนก่อนหน้า จากความกังวลด้านการส่งออกที่อ่อนแอ
ดัชนีการสารวจธุรกิจ (BSI) สาหรับภาคการผลิต เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 68 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก 67ในเดือนก่อนหน้า โดยมากจากปัจจัย ผู้ผลิตอุปสงค์ในประเทศเพิ่มขึ้น ในขณะที่อุปสงค์เพื่อการส่งออกปรับตัวลดลง
เกาหลีใต้
มูลค่าส่งออก เดือน ส.ค. 6666หดตัวที่ร้อยละ 3.73.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 9.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่านาเข้า เดือน ส.ค. 6666หดตัวที่ร้อยละ 0.30.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 7.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 6666ขาดดุลที่ระดับ 25.625.6พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ 30.030.0พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Hang HengHeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2828ก.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,482.141,482.14จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 25 2828ก.ย. 6666อยู่ที่50,888.9750,888.97ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2525-2828ก.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 4,095.994,095.99ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11-20 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่25 2828ก.ย. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -13,847.2613,847.26ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2828ก.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ
150,447.39150,447.39ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2828ก.ย. 666เงินบาทปิดที่ 36.7736.77บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 1.641.64จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.22
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง