เศรษฐกิจไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ย. 66 สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.3 ต่อปี และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น
ร้อยละ 0.6 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ย. 66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวตัวที่ร้อยละ -4.4 ต่อปี
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ส.ค. 66 คิดเป็นร้อยละ 61.8 ของ GDP
? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 ต่อปี
? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.5
ต่อปี
? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ส.ค. 66 ขาดดุล -8,997 ล้านบาท
เศรษฐกิจไทย
ภาคการเงิน
? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ส.ค. 66 เกินดุลที่ 401.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
? สินเชื่อในสถาบันการเงินในเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ส.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ย. 66สูงขึ้นที่ร้อยละ 0.3ต่อปี
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวในระดับต่าที่ร้อยละ 0.3 (YoY) ( เท่ากับที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. ที่ร้อยละ 0.3) หากเทียบกับเดือนก่อนหน้าลดลงที่ร้อยละ -0.4 (MoM) โดยมีปัจจัยหลักจากการชะลอตัวของสินค้าในหมวดพลังงาน (ค่ากระแสไฟฟ้า ราคาน่ามันดีเซล จากมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐ) และหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ลดลงเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 2 ปี จากการลดลงของราคาเนื้อสุกร และผักสด (ตามปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น) และน่ามันพืช โดยพบว่าสินค้าหมวดเนื้อสัตว์ (-16.5 ) หมวดอาหารส่าเร็จรูป(-1.7) และหมวดไฟฟ้าเชื้อเพลิงน่าประปาและแสงสว่าง (-3.1) YoY
อย่างไรก็ตาม มีสินค้าส่าคัญที่ราคาสูงขึ้น ได้แก่ ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว และไข่ไก่ เป็นต้น ทั้งนี้ เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) หมวดสินค้าที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ พบว่า หมวดยานพาหนะและน่ามันเชื้อเพลิง หมวดอาหารส่าเร็จรูป ยังเป็นปัจจัยบวกท่าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.3 0.2 หมวดอาหารสด และหมวดไฟฟ้าเชื้อเพลิงน่าประปาและแสงสว่าง ท่าให้เงินเฟ้อลดลงร้อยละ -0.3 -0.2และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวร้อยละ 0.6 (YoY) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ทรงตัวร้อยละ -0.03 (MoM)
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ย. 66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ย.66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า เช่น หนวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 3.23.2หนวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 3.13.1หนวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 2.22.2โดยราคาวัสดุที่สูงขึ้นมาจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นและความต้องการใช้ที่มากขึ้น ในขณะที่ หนวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงร้อยละ 2.3 ตามการลดลงของราคาเหล็กในเอเชียและจีน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ที่มา กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 1.4
โดยได้รับปัจจัยลบจากมาตรการปล่อยสินเชื่อที่เข้มงวดของสถาบันการเงิน จากภาวะหนี้เสียที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับมาตรการควบคุมดอกเบี้ยของ สคบ. ที่ด่าเนินไปก่อนหน้านี้ และความกังวลที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเตรียมออกมาตรการควบคุมสัญญาเช่าซื้อของรถจักรยานยนต์ แต่อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจไทยยังคงได้รับปัจจัยสนับสนุนจากฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวเป็นส่าคัญ ประกอบกับอัตราเงินเฟ้อที่ปรับตัวลดลงในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนภาพรวมของการบริโภคภาคเอกชนในปัจจุบัน
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ส.ค. 66 มีจ่านวนทั้งสิ้น111ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 61.88ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 55,885 99ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 87.5ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.66ของยอดหนี้สาธารณะ
การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ส.ค. 66เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 210,633 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 4.2ต่อปี ท่าให้ในช่วง 11เดือนแรกของปีงบประมาณ 66เบิกจ่ายได้ 3,010,172ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 4.0คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 89.2
8
ที่มา กรมสรรพากร ค่านวณโดย สศค.
โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 202,189 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.1ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 89.8ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจ่า 163,479 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 6.8 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 95.8 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 38,710 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.3ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 66.2(2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 8,444ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -36.3 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 78.6ต่อปี
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ส.ค. 66ได้ 227,237ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.5ต่อปี ท่าให้ในช่วง 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 66 จัดเก็บได้สุทธิ 2,368,862ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ4.94.9ต่อปี
โดยรายได้ในเดือน ส.ค. 66ขยายตัวจากภาษีน่ามันฯ ที่ขยายตัวร้อยละ 124.1ภาษีมูลค่าเพิ่มจากการจัดเก็บในประเทศขยายตัว ร้อยละ 8.4ต่อปี และรัฐวิสาหกิจ ที่ขยายตัวร้อยละ 47.9 ต่อปี
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ส.ค. 66พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจ่านวน 8,997ล้านบาท
ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่ขาดดุล 19,561 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 28,558 ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงินเพิ่มเติม 47,000ล้านบาท ท่าให้ดุลเงินสดหลังกู้เกินดุล 18,442 ล้านบาท ส่งผลให้จ่านวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 317,385ล้านบาท
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ส.ค. 666เกินดุลที่ 401.2ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังขาดดุลในเดือนก่อนหน้าที่ -508.0ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน ส.ค. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 823.3ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่1 224.57ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่าหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666ขาดดุลรวม -612.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Current Account
5
ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ส.ค. 666มียอดคงค้าง 20.420.4ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.60.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ส.ค. 666มียอดคงค้าง 24.524.5ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.22จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.02.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.2จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.0.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 3.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 49.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.6 จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 47.8 จุด และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 10เดือน อย่างไรก็ดี ดัชนีฯ ยังอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ถึงสัญญาณชะลอตัว เป็นผลจากต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้น
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.9 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -8.6ต่อปี และเป็นการหดตัวในระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน
มูลค่าการน่าเข้าสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -6.3 ต่อปี หดตัวในอัตราเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -5.8ต่อปี
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 ขาดดุลที่ -9.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -9.5หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (24-30 ก.ย. 66) อยู่ที่ 2.07 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.05 แสนราย แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.10 แสนราย ขณะที่จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.09แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -1.0และ หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11ติดต่อกัน
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 6.4 ของก่าลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.5ของก่าลังแรงงานรวม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 48.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.9จุด แต่ยังอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด เป็นเดือนที่ 2ติดต่อกัน บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการ
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 43.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 43.5จุด และยังอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด เป็นเดือนที่ 15ติดต่อกัน บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 48.5 สะท้อนการลดลงของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 53.8 บ่งชี้การเติบโตของภาคบริการอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13 อย่างไรก็ตาม ดัชนีลดลงจากระดับสูงสุดในรอบ 3 เดือนสุดท้ายที่ 54.3 ในเดือน ส.ค. 66 ซึ่งบ่งชี้ถึงการขยายตัวของกิจกรรมการบริการที่อ่อนแอที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค.66
ญี่ปุ่น
อัตราเงินเฟ้อ ณ เดือน ก.ย. 6666อยู่ที่ร้อยละ 3.73.7ต่อปี หรือร้อยละ 0.6 จากเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงสุดนับจาก เม.ย. 6565เป็นต้นมา เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของค่าบริการและราคาสินค้าอุตสาหกรรม เป็นส่าคัญ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ส.ค. 6666หดตัวลงร้อยละ -0.5 จากปีก่อนหน้า หรือขยายตัวร้อยละ 5.5 จากเดือนก่อนหน้า ซึ่งถือเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน มิ.ย.63 ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศก่าลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 49.9 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดในรอบ 15 เดือน สะท้อนเสถียรภาพโดยรวมของภาคการผลิต อย่างไรก็ตาม บริษัทต่างๆ ยังคงระบุว่าอุปสงค์ที่ตกต่าท่าให้ไม่สามารถฟื้นตัวได้เป็นส่วนใหญ่
เกาหลีใต้
มาเลเซีย
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม ( เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 46.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.8 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13 ค่าดัชนีในเดือนนี้นับเป็นการหดตัวต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 66 อันเนื่องจากการหดตัวลงของยอดค่าสั่งสั่งซื้อสินค้าส่งออกใหม่ (new
export order) ที่หดตัวลงมากที่สุดเป็นครั้งที่ 3 ในประวัติศาสตร์
เวียดนาม
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 49.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.5จุด โดยนับเป็นการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมเป็นครั้งที่ 7ของปีนี้
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางออสเตรเลียประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.1ต่อปี
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 48.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.6จุด
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 51.851.8จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.0 จุด
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.451.45จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.142.14จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการส่งออก เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -7.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -8.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการน่าเข้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 เกินดุลที่ระดับ 8.94 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 7.5พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.28 ต่อปี ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.27ต่อปี
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 52.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.9จุด
อินโดนีเซีย
ฟิลิปปินส์
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.4 จากก่าลังแรงงานทั้งหมด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.8อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 6.1เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Global PMI) ภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 54.2 บ่งชี้การขยายตัวของกิจกรรมภาคเอกชนต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 ผลลัพธ์ล่าสุดยังเป็นการเติบโตที่รวดเร็วที่สุดในภาคธุรกิจนี้นับตั้งแต่เดือน พ.ค.66 เนื่องจากการเติบโตของผลผลิตเร่งขึ้นสู่ระดับสูงสุดในรอบสามเดือน โดยได้รับแรงหนุนจากอุปสงค์ที่ปรับตัวดีขึ้น
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 6666ขยายตัวร้อยละ 4.0 จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดนับจาก มี.ค. 66
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม ( เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 46.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 44.3 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16ท่ามกลางการส่งสัญญาณของผู้ผลิตที่จะลดจ่านวนผลผลิตและยอดงานใหม่รวมลง
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.93 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.52จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.40และเป็นตัวเลขที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 66 นอกจากนี้ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่ากรอบเป้าหมายเงินเฟ้อของธนาคารที่ตั้งไว้ที่ร้อยละ 2.00อันเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของราคาอาหารและค่าขนส่งเป็นส่าคัญ
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ เดือน ก.ย. ขยายตัวร้อยละ 21.0 จากปีก่อนหน้า ซึ่งอยู่ต่ากว่าระดับปกติ (ก่อนการระบาด) ร้อยละ 20.6
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคการผลิต เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 44.3ซึ่งอยู่ในช่วงการอ่านที่อ่อนแอที่สุดในช่วง 14 ปีที่ผ่านมา
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 49.3 ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค.66 งานใหม่ทั้งหมดลดลงบางส่วน และยอดขายส่งออกลดลงเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน พ.ย.65
อังกฤษ
ไต้หวัน
อินเดีย
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ 61.0 สะท้อนการฟื้นตัวอย่างรวดเร็วของผลผลิตภาคบริการในรอบ 13 ปี
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Hang HengHeng(ฮ่องกง) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 55ต.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,452.551,452.55จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2 55ต.ค. 6666อยู่ที่50,092.2750,092.27ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 22ถึง 55ต.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 7 ,216.41,216.41ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 11ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 11ถึง 3 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 44ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 16 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่2 55ต.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -5,747.345,747.34ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่55ต.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 154,042.77154,042.77ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่55ต.ค. 666เงินบาทปิดที่ 36.9236.92บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.420.42จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตวอน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน เปโซ ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.30
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง