รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 20 ต.ค. 66

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday October 24, 2023 14:41 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.ย. 66 ลดลงอยู่ที่ระดับ 90.0

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ

-5.0 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -1.6 ต่อปี

เศรษฐกิจต่างประเทศ

?

GDP จีน ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP มาเลเซีย ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.ย. 66 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 90.0จากระดับ 91.3ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี TISITISIเดือน ก.ย. 6666ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 โดยลดลงในเกือบทุกองค์ประกอบของดัชนี ทั้งยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการ ยกเว้นต้นทุนประกอบการที่ปรับตัวดีขึ้น สาหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นเดือนนี้ มาจากภาคการผลิตที่ยังคงชะลอตัว หลังกาลังซื้อภายในประเทศลดลงจากปัญหาหนี้ครัวเรือน และรายได้ภาคเกษตรที่ลดลง ขณะที่ภาคการส่งออก ได้รับปัจจัยลบจากเศรษฐกิจจีนที่ยังคงชะลอตัวจากปัญหาภาคอสังหาริมทรัพย์ สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 97.3 จากระดับ 99.5 ในเดือนก่อน โดยมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบจากความกังวลต่อราคาพลังงานที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นหลังสถานการณ์ความขัดแย้งในหลายภูมิภาคยังคงยืดเยื้อ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.ย. 66หดตัวที่ร้อยละ -5.0ต่อปี และชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -11.4

เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวที่ร้อยละ 5.8 (%YoY) จากการบริโภคภาคเอกชนที่ขยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นแสดงภาพของการบริโภคที่ยังคงแข็งแกร่ง ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าหดตัวที่ร้อยละ -16.3 (%YoY) หดตัวชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้า โดยมีสาเหตุจากภาคการนาเข้าที่ยังคงหดตัวลงจากกลุ่มสินค้าด้านพลังงานและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบกับปัจจัยฐานสูงในปีก่อนหน้า ส่งผลให้การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนาเข้าหดตัวลง

ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 1.61.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.50.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.ย.66 หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน มีปัจจัยมาจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ การหดตัวของกาลังซื้อ ที่ได้รับผลกระทบจากราคาที่อยู่อาศัยปรับตัวสูงขึ้น แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในทิศทางขาขึ้น และหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง ทาให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัย แต่ขณะเดียวกันการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ส่งผลให้ทิศทางตลาดเริ่มเป็นบวกและยังได้รับแรงสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มมากขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 53.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.5ซึ่งเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้ เป็นผลจากกิจกรรมทางธุรกิจ คาสั่งซื้อใหม่ การจ้างงาน สินค้าคงคลังและการส่งมอบสินค้าของซัพพลายเออร์ที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66ขยายตัวคงที่จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 6เดือน

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.9 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอตัวกว่าก่อนหน้าที่ร้อยละ 8.68.6ต่อปี

มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ส.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -6.3 ต่อปี หดตัวในอัตราเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ-5.8ต่อปี

ดุลการค้า เดือน ส.ค. 66 ขาดดุลที่ -9.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -9.5หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (IPI) เดือน ก.ย. 66ขยายตัวคงที่จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ยอดสร้างบ้านใหม่ (Housing start) เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.0 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากการหดตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -12.5 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกประเภท ทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียม

ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากเดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 6.8 โดยเป็นผลจากยอดใบอนุญาตก่อสร้างทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียมที่ปรับตัวลดลง

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (8-14 ต.ค. 66) อยู่ที่ 2.05 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.06แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.09แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 เกินดุล 62.44 พันล้านเยน โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 4.3ต่อปี จากปัจจัยกาเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ของสหรัฐ เป็นสาคัญ ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -16.3ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6)

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production)Production)( ในญี่ปุ่น เดือน ส.ค. 66หดตัวลงร้อยละ -4.4 จากปีก่อนหน้า ขณะที่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะหดตัวร้อยละ -0.7

GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.8เมื่อเทียบจากไตรมาสก่อนหน้าหลังจากขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว อย่างไรก็ดี ขยายตัวสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 4.4

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเท่ากับเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.3

ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.9

อัตราการว่างงานในเมือง เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.0 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.2

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 65และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

GDPไตรมาสที่ 3ปี 66(เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

การส่งออก เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -13.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -18.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 จากยอดส่งออกที่ลดลงจากยอดส่งออกสินค้าประเภท ก๊าชLNGLNGเหมืองแร่ ปิโตรเลียมและคอนเดนเสทเป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -11.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -21.2นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7จากการหดตัวของการนาเข้าสินค้าขั้นกลางเป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 เกินดุลอยู่ที่ 24.5 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 17.3 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นระดับต่าที่สุดในรอบ 30เดือน

การส่งออกสินค้า (ไม่รวมน้ามัน) เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -13.2 ต่อปี ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาเทียบกับเดือนก่อนหน้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.1

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66เกินดุล 4942.89ล้านดอลลาร์สิงคโปร์

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 6.7 ต่อปี เท่ากับเดือนก่อนหน้า และเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าสุดในรอบ 18 เดือน จากปัจจัยการลดลงของราคาอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่ใช่แอลกอฮอล์ เป็นสาคัญ ขณะทีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนเดียวกัน อยู่ที่ร้อยละ 6.1ต่อปี ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับจาก มี.ค. 66เป็นต้นมา

ธนาคารกลางเกาหลีใต้ (BOK) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.5 ในรอบประชุมเดือน ต.ค.66ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6ท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันและหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.6 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.7ของกาลังแรงงานรวม

ธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ5.75 ต่อปี สู่ร้อยละ 6.06.0ต่อปี นับเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 6666เพื่อรักษาเสถียรภาพของเงินรูเปียห์ท่ามกลางความไม่แน่นอนของสถานการณ์เศรษฐกิจทั่วโลก

มูลค่าส่งออก เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 16.17 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -21.21จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่านาเข้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -12.45 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -14.77จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 3.42 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 3.12พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ของกาลังแรงงานรวม เท่ากับเดือนก่อนหน้า และอยู่ในระดับต่าที่สุดในรอบ 18เดือน

ยอดขายรถยนต์ในตลาดอินเดีย (Passenger vehicle sales) เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 3.1 ต่อปี ขยายตัวต่อเนื่องจากร้อยละ 11.6ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) TWES ไต้หวัน และ STI สิงคโปร์ เป็นต้น เมื่อวันที่ 1919ต.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,423.041,423.04จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 16 1919ต.ค. 6666อยู่ที่46,034.7846,034.78ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 16 1919ต.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 2,838.162,838.16ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11ปี ถึง 1818ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 8 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2020ปี ปรับตัวลดลง 1 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66ปี และ 5050ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.12.1และ 0.90.9เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่16 1919ต.ค. 6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

6,612.776,612.77ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1919ต.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ

142,741.83142,741.83ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่1919ต.ค. 666เงินบาทปิดที่ 36.4236.42บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 0.610.61จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเปโซ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.18

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ