ผลการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเอเปค ครั้งที่ 30 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 ณ นครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday November 15, 2023 13:21 —กระทรวงการคลัง

ผลการประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเอเปค ครั้งที่ 30 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 ณ นครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา

ฉบับที่ 134/2566 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566
ผลการประชุมรัฐมนตรีวCการกระทรวงการคลังเอเปค ครั้งที่ 30 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวขNอง
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 ณ นครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอรTเนีย สหรัฐอเมริกา
นายพรชัย ฐีระเวช ผู0อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลงวB
นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ รัฐมนตรีชBวยวBกระทรวงการคลัง ได0เข0รBวมการประชุมรัฐมนตรีวBการกระทรวงการคลัง
เอเปค (APEC Finance Ministers? Meeting: APEC FMM) ครั้งที่ 30 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข0อง (การประชุมฯ)
เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2566 ซึ่งมีรัฐมนตรีวBการกระทรวงการคลังสหรัฐอเมริกา (H.E. Janet L. Yellen)
เปtนประธาน พร0อมด0วยผู0แทนระดับสูงจากสมาชิกเอเปคทั้ง 21 เขตเศรษฐกิจ และผู0แทนจากองคwกรระหวBงประเทศ อาทิ
องคwการเพื่อความรBวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and
Development: OECD) กองทุนการเงินระหวBงประเทศ (International Monetary Fund) กลุBมธนาคารโลก (World
Bank Group) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) เปtนต0น เพื่อรBวมหารือในประเด็น
ด0นเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตรwอุปทานสมัยใหมB (Modern Supply Side Economics) การเงินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Finance) และสินทรัพยwดิจิทัล (Digital Assets) ภายใต0หัวข0อหลัก (Theme) คือ ?สร0งอนาคตที่พร0อมรับ
ความเปลี่ยนแปลงและยั่งยืนสำหรับทุกคน? (Creating a Resilient and Sustainable Future for All)? โดยมีผล
การประชุม APEC FMM ครั้งที่ 30 และการประชุมที่เกี่ยวข0อง ดังนี้
1. ผลการประชุม APEC FMM ครั้งที่ 30
1.1 ผลการหารือประเด็นด0นเศรษฐกิจ ที่ประชุมได0หารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น
ด0นเศรษฐกิจ โดยผู0แทนจาก IMF ได0รายงานวBเศรษฐกิจโลกยังคงเติบโตแตBเริ่มมีสัญญาณชะลอตัวลงเล็กน0อย โดยในป?
2566 คาดวBจะขยายตัวที่ร0อยละ 3 ตBอป? และร0อยละ 2.9 ในป? 2567 อัตราเงินเฟ?อปรับตัวลงจากป?กBอนหน0 ในขณะที่
อัตราเงินเฟ?อพื้นฐาน (Core Inflation) ยังคงอยูBในระดับสูง โดยคาดวBอัตราเงินเฟ?อจะกลับมาสูBในกรอบเป?หมาย
(targeted) ได0ภายในป? 2568 ทั้งนี้ เศรษฐกิจโลกยังคงมีปจจัยเสี่ยงจากแนวโน0มการดำเนินนโยบายการเงินที่เข0มงวดใน
หลายเศรษฐกิจ ซึ่งเปtนผลตBอมาจากการปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ นอกจากนี้ การปรับเพิ่มอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐฯ ยังเปtนปจจัยหลักที่ทำให0คBเงินดอลลารwสหรัฐฯ แข็งคBขึ้นอยBงตBอเนื่อง และได0สร0งความผัน
ผวนตBอยังตลาดเงินทั่วโลก IMF ยังคงกลBวถึงปจจัยเสี่ยงอื่นที่อาจสBงผลตBอการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค
เอเปค ได0แกB การชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจของสาธาณรัฐประชาชนจีนจากปญหาในภาคอสังหาริมทรัพยw และการ
ปรับลดของความเชื่อมั่นผู0บริโภค ทั้งนี้ สมาชิกเขตเศรษฐกิจเอเปคควรรBวมกันดำเนินนโยบายการเงินและการคลังเพื่อ
สนับสนุนและสBงเสริมการพัฒนารากฐานทางเศรษฐกิจเพื่อให0สามารถฟนตัวได0อยBงยั่งยืน โดยมุBงเน0นการรักษา
เสถียรภาพด0นการเงิน
2
1.2 ผลการหารือในประเด็นเศรษฐศาสตรwอุปทานสมัยใหมB (Modern Supply Side Economics)
ที่ประชุมได0หารือถึงแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจในรูปแบบใหมBที่ภาครัฐต0องให0ความสำคัญกับการดำเนินมาตรการ
ทางการคลังเพื่อพัฒนาและสร0งอุปทานที่สอดคล0องกับโครงสร0งทางเศรษฐกิจและสภาพแวดล0อมที่เปลี่ยนแปลงไป
อาทิ การรBวมลงทุนในโครงสร0งพื้นฐานที่มีคุณภาพ (Quality Infrastructure) โดยเฉพาะโครงสร0งพื้นฐานที่ยั่งยืน
และเปtนมิตรตBอสิ่งแวดล0อม และโครงสร0งพื้นฐานด0นพลังงานสะอาด ซึ่งจะเปtนพื้นฐานที่สำคัญของการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจได0ในระยะยาว โดยที่ประชุมได0ตระหนักถึงความสำคัญของความรBวมมือระหวBงรัฐบาลและภาคเอกชน
ในการระดมทุนเพื่อพัฒนาโครงสร0งพื้นฐานผBนเครื่องมือทางการเงินเพื่อความยั่งยืน นอกจากนี้ ที่ประชุมเห็นพ0อง
รBวมกันวBการพัฒนาทุนมนุษยwเปtนการลงทุนที่มีความสำคัญอยBงยิ่ง เพื่อเพิ่มศักยภาพและคุณภาพของแรงงาน รวมถึง
การสนับสนุนความเทBเทียมทางเพศในตลาดแรงงาน โดยเฉพาะการเพิ่มอุปทานของแรงงานสตรีเพื่อแก0ไขปญหา
การขาดแคลนแรงงานที่มีศักยภาพในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งภาคแรงงานที่แข็งแกรBงจะชBวยสนับสนุนการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจที่มีความยืดหยุBน ครอบคลุม และยั่งยืน และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมได0อยBงมีประสิทธิภาพ
1.3 ผลการหารือในประเด็นการเงินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Finance) ที่ประชุมได0หารือ
ถึงความสำคัญของการเงินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Finance)เพื่อสามารถบรรลุเป?หมายในการลด
การปลBอยกซเรือนกระจกที่เขตเศรษฐกิจตBง ๆ ได0ตั้งเป?ไว0 ซึ่งการพัฒนาตลาดคารwบอนภาคสมัครใจ (Voluntary
Carbon Market) เปtนหนึ่งในกลไกสำคัญที่จะชBวยให0สามารถบรรลุเป?หมายดังกลBว ทั้งนี้ ภาครัฐต0องมีสBวนรBวม
และผลักดันการสร0งตลาดคารwบอนภาคสมัครใจ ซึ่งจะสามารถสร0งแรงจูงใจแกBภาคเอกชนและผู0มีสBวนได0เสียตBง ๆ
ให0เกิดกิจกรรมที่เกี่ยวข0องอันนำไปสูBการการซื้อขายคารwบอนเครดิตได0อยBงเปtนระบบ และมีการกำหนดรูปแบบ
และจัดทำสัญญาซื้อขายที่เปtนมาตรฐาน รวมทั้งกำกับดูแลตลาดคารwบอนภาคสมัครใจให0มีความโปรBงใสและ
มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ กลุBมเขตเศรษฐกิจ APEC ควรรBวมมือกับองคwการระหวBงประเทศเพื่อพัฒนาตลาดคารwบอน
ภาคสมัครใจในระดับระหวBงประเทศ และแลกเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานและการกำกับดูแลระหวBงกัน
เพื่อยกระดับตลาดคารwบอนภาคสมัครใจของแตBละเขตเศรษฐกิจให0ความเชื่อมโยงและมีมาตรฐานในระดับเดียวกัน
(Interoperability) นอกจากนี้ มาตรการทางการคลัง โดยเฉพาะกลไกทางภาษีถือเปtนเครื่องมือสำคัญในการสร0ง
แรงจูงใจเพื่อลดการปลBอยกซเรือนกระจกอีกด0วย
1.4 ผลการหารือในประเด็นสินทรัพยwดิจิทัล (Digital Assets) ที่ประชุมได0ตระหนักถึงพัฒนาการ
ของสินทรัพยwดิจิทัลในชBวงที่ผBนมา และนวัตกรรมทางเทคโนโลยีใหมB ๆ ซึ่งกลุBมเขตเศรษฐกิจ APEC สามารถใช0
ประโยชนwจากเทคโนโลยีบลอคเชนในการจัดทำสัญญาอัจฉริยะ (Smart Contract) ที่สามารถดำเนินการด0วยตัวเอง
และลดตัวกลางทางการเงินในการดำเนินธุรกรรม นอกจากนี้ สินทรัพยwดิจิทัลอาจสามารถสร0งสรรคwและพัฒนา
นวัตกรรมของระบบการเงินที่ทั่วถึง และสามารถเปtนตัวกลางในการชำระเงินระหวBงประเทศ อาทิ การโอนเงินกลับ
ประเทศ (Remittance) อยBงไรก็ดี ยังคงมีความเสี่ยงที่อาจสBงผลกระทบตBอเสถียรภาพในภาคการเงินหากขาด
การกำกับดูแลสินทรัพยwดิจิทัลที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยังคงมีประเด็นท0ทายในการจัดทำมาตรฐานและกฎระเบียบเพื่อ
กำกับดูแล ดูแลความปลอดภัยทางไซเบอรw ตลอดจนเสริมสร0งความรู0ทางการเงินที่เพียงพอแกBผู0ประสงคwลงทุน
ในสินทรัพยwดิจิทัล ดังนั้นสมาชิกเขตเศรษฐกิจ APEC ควรรBวมมือกับองคwการระหวBงประเทศ เพื่อสBงเสริมการสร0ง
ระบบนิเวศของสินทรัพยwดิจิทัลที่มีความยืดหยุBน ครอบคลุม และเปtนนวัตกรรม โดยอาจเริ่มจากสินทรัพยwดิจิทัล
ที่ดำเนินการโดยธนาคารกลางเปtนลำดับแรก
3
1.5 ผลการพิจารณาแถลงการณwรBวมรัฐมนตรีวBการกระทรวงการคลังเอเปค ครั้งที่ 30 (Joint Ministerial
Statement of the 29th APEC Finance Ministers? Meeting) ที่ประชุมได0รBวมพิจารณารBงแถลงการณwรBวมรัฐมนตรีวBการ
กระทรวงการคลังเอเปค ครั้งที่ 30 (รBงแถลงการณwรBวมฯ) เพื่อเปtนเอกสารผลลัพธwของการประชุมซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุม
สาระสำคัญตามนัยข0อ 1.1 ? 1.4 ข0งต0น อยBงไรก็ดี ยังคงมีประเด็นที่ยังไมBสามารถบรรลุฉันทามติได0ในเรื่องความ
ขัดแย0งทางภูมิรัฐศาสตรwที่สBงผลกระทบตBอระบบเศรษฐกิจของเขตเศรษฐกิจเอเปค ประธานจึงเสนอให0ใช0ถ0อยคำใน
ประเด็นที่คงค0งตามถ0อยคำที่จะปรากฏในรBงปฏิญญาผู0นำเขตเศรษฐกิจเอเปค (รBงปฏิญญาฯ) ที่จะเสนอตBอที่ประชุม
ผู0นำเขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC Economic Leaders? Meeting) ตBอไป ทั้งนี้ หากมีบางเขตเศรษฐกิจไมBเห็นด0วยกับ
ถ0อยคำตามรBงปฏิญญาฯ ทางเจ0ภาพจะจำเปtนต0องออกแถลงการณwประธานรัฐมนตรีวBการกระทรวงการคลังเอเปค
ครั้งที่ 30 (Chair?s Statement of the 30th APEC Finance Ministers? Meeting) เพื่อเปtนเอกสารผลลัพธwของ
การประชุม APEC FMM ครั้งที่ 30 แทนการออกแถลงการณรBวมตBอไป
2. ผลการหารือระหวCงรัฐมนตรีวCการกระทรวงการคลังเอเปคกับสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปค
(APEC Business Advisory Council: ABAC) ที่ประชุมได0หารือเกี่ยวกับการเงินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Finance) เพื่อตอบโจทยwเป?หมายการลดกซเรือนกระจกเพื่อมุBงสูBสังคมคารwบอนต่ำและเป?หมายด0นสิ่งแวดล0อม ซึ่งยังมี
ประเด็นท0ทายที่ต0องให0ความสำคัญ ได0แกB การระดมทุนจากภาคการเงิน การสร0งแรงจูงใจสำหรับนักลงทุน การกำหนด
หลักเกณฑwในการคัดเลือกโครงการสีเขียว (Green Projects) และโครงการที่เปtนการเปลี่ยนผBนสูBเศรษฐกิจสีเขียว
(Transition Projects) รวมทั้ง การสร0งความสมดุลระหวBงโครงการในประเภทและขนาดตBง ๆ นอกจากนี้ รัฐมนตรีวBการ
กระทรวงการคลังเอเปคกับ ABAC ยังมีความเห็นตรงกันวB ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเปtนปญหาระดับสากล
ที่ต0องได0รับการแก0ไข ดังนั้น จึงควรมีแนวทางในการแก0ปญหาที่ต0องเชื่อมโยงและสอดคล0องกันระหวBงสมาชิกเขตเศรษฐกิจ
เอเปค และต0องได0รับความรBวมมือจากทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนโดยเฉพาะในภาคการเงิน และองคwการระหวBงประเทศ เชBน
มาตรฐานการจัดกลุBมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล0อมกำหนดนิยามการลงทุนสีเขียว (Green Taxonomy)
การกำหนดราคาซื้อขายคารwบอนเครดิต เปtนต0น ทั้งนี้ รัฐมนตรีชBวยวBการกระทรวงการคลังได0แลกเปลี่ยนประสบการณw
การออกพันธบัตรสีเขียวและพันธบัตรเพื่อความยั่งยืนของไทย ความท0ทายในการคัดเลือกโครงการที่เหมาะสม และมาตรการ
การคลังเพื่อสร0งแรงจูงใจด0นภาษีสำหรับการลงทุนในกองทุนรวมที่ผBนหลักเกณฑwการเปtนกองทุนสีเขียวหรือกองทุนเพื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืนด0วย
3. ผลการหารือทวิภาคีกับนาย Juan Pichihua รัฐมนตรีชCวยวCการกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง
สาธารณรัฐเปรู (เปรู) รัฐมนตรีชBวยวBการกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง สาธารณรัฐเปรูขอให0ไทย
ชBวยให0การสนับสนุนการเปtนเจ0ภาพ APEC ของเปรูในป? 2567 โดยรัฐมนตรีชBวยวBการกระทรวงการคลังได0กลBวยินดี
ให0การสนับสนุนดังกลBว และขอบคุณเปรูที่ได0สืบตBอประเด็นสำคัญที่ไทยได0หยิบยกขึ้นในการเปtนเจ0ภาพเอเปคของไทย
ในป? 2565 ได0แกB การเงินเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาด0นเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเฉพาะเพื่อประโยชนwในการพัฒนา
การเข0ถึงบริการด0นการเงิน นอกจากนี้ รัฐมนตรีชBวยวBการกระทรวงการคลังได0เสนอให0ไทยและเปรูกระชับความรBวมมือ
ระหวBงกันบนพื้นฐานของความตกลงการค0เสรีไทย - เปรู โดยอาจพิจารณาขยายสาขาความรBวมมือไปยังภาคบริการ รวมถึง
บริการด0นการเงินด0วย
4
กองนโยบายเศรษฐกิจระหวBงประเทศ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
โทร. (02) 273-9020 ตBอ 3622/3605


          ที่มา: กระทรวงการคลัง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ