เศรษฐกิจไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.3 ต่อปี และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น
ร้อยละ 0.7 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ต.ค. 66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อน
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4 ต่อปี
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP อินโดนีเซีย ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 4.94 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
? GDP ฟิลิปปินส์ ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ภาคการเงิน
? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ก.ย. 66 คิดเป็น 1.96 เท่าของ
สินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ต.ค. 66 ลดลงที่ร้อยละ 0.3ต่อปี
เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน ต.ค. 66 ลดลงร้อยละ -0.3 (ต่ากว่าที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน ต.ค. ที่ +0.3 (YoY))
ลดลงครั้งแรกในรอบ 25 เดือน (นับจาก ส.ค. 64 ที่ร้อยละ -0.02) โดยมีปัจจัยสาคัญจากมาตรการลดภาระค่าครองชีพให้กับประชาชนของภาครัฐ ส่งผลให้ราคาสินค้า สาคัญลดลง ได้แก่ สินค้าในกลุ่มพลังงาน (ค่ากระแสไฟฟ้า น้ามันดีเซล) และค่าโดยสาร รถไฟฟ้า นอกจากนี้ ราคาสินค้าหมวดอาหารและเครื่องดื่ม ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จากราคาเนื้อสุกร เครื่องประกอบอาหาร และผักสด เป็นสาคัญ อย่างไรก็ตาม ยังมีสินค้าที่เพิ่มสูงขึ้น อาทิ ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว เป็นต้น โดยหากเทียบกับเดือนก่อนหน้าลดลง -0.3 (MoM) ทั้งนี้ เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY)
หมวดสินค้าที่ส่งกระทบต่อเงินเฟ้อ พบว่า หมวดอาหารและเครื่องดื่ม หมวดเคหสถาน เป็นปัจจัยลบที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงร้อยละ -0.5 และ -0.2 และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวร้อยละ 0.7 (YoY)
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า ทรงตัวร้อยละ 0.08 (MoM)
Inflation Rate
Indicators
(%yoy)
2022
2023
ทั้งปี
Q1
Q
Q3
Sep
Oct
YTD
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
6.1
1.1
0.5
0.3
-
0.3 1.6
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
2.5
1.5
0.8
0.6
0.7
1.4
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ต.ค.66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ต.ค. 66 ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยมีการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า เช่น หนวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ สูงขึ้นร้อยละ 5.55.5หนวดวัสดุฉาบผิว สูงขึ้นร้อยละ 3.23.2หนวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา สูงขึ้นร้อยละ 1.71.7โดยราคาวัสดุที่สูงขึ้นมาจากความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างในโครงการก่อสร้าง รวมทั้งความต้องการใช้ในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ในขณะที่ หนวดสุขภัณฑ์ ลดลงร้อยละ 3.03.0เนื่องจากผู้ประกอบการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย และหนวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก ลดลงร้อยละ 2.92.9จากปัญหาวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนที่ยังไม่ฟื้นตัว ทาให้ความต้องการใช้เหล็กลดลง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ที่มา กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.44.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 1.7
โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวเป็นสาคัญ ประกอบกับรายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้น และอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า ส่งผลให้การบริโภคสินค้าคงทนกลับมาขยายตัว แต่อย่างไรก็ดี การปรับเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย และความเข้มง
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ก.ย.666คิดเป็น 1.9696เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ก.ย. 666อยู่ที่ 5.5.31 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)
ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (ISM) เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.6ซึ่งต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ เป็นผลจาก คาสั่งซื้อใหม่ที่หดตัว กิจกรรมทางธุรกิจและการจ้างงานเพิ่มขึ้นในอัตราที่ช้าลงเป็นสาคัญ
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -2.6 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอตัวกว่าก่อนหน้าที่ร้อยละ -5.9ต่อปี
มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.2 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -6.3ต่อปี
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 ขาดดุลที่ -9.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -6.9หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (22-28 ต.ค. 66) อยู่ที่ 2.10 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ 2.08 แสนราย และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.09 แสนราย สอดคล้องกับ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.10แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายซื้อ (PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ต.ค. 66 จาก Jibun BankBankอยู่ที่ 51.6 ลดลงจากระดับ 53.8ในเดือนก่อนหน้า แต่ยังคงบ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14ของภาคบริการ
ญี่ปุ่น
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 หดตัวร้อยละ -2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวต่าสุดในรอบ 12 เดือน อย่างไรก็ดี หดตัวน้อยกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ว่าจะหดตัวร้อยละ -3.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยูโรโซน
มูลค่าการส่งออก เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -6.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -6.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -3.3
มูลค่าการนาเข้า เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -6.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -4.8
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 เกินดุลอยู่ที่ 56.53 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ 77.71พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวร้อยละ -0.1
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางออสเตรเลียปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 4.1 ต่อปีสู่ร้อยละ 4.35 ต่อปี
ออสเตรเลีย
GDP
GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.94 ต่อปี ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.17 ต่อปี หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ซึ่งต่ากว่าตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 5.1ต่อปี และเป็นการขยายตัวที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาสที่ 3ปี 64
ยอดค้าปลีก เดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นการเติบโตของยอดขายเสื้อผ้า เชื้อเพลิง ชิ้นส่วนและอุปกรณ์เสริมยานยนต์ เป็นสาคัญ
อินโดนีเซีย
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 14.3 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 21 ต่อปี ทั้งนี้ ยอดจดทะเบียนฯ เฉลี่ยตั้งแต่ปี6464ถึง 66อยู่ที่ร้อยละ 11.26ต่อปี
ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 2.6 ต่อปี ชะลอลงจากร้อยละ 2.8ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า จากต้นทุนที่เพิ่มขึ้นทาให้ความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดลง
สหราชอาณาจักร
การส่งออก เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนกลับมาหดตัวอีกครั้งจากเดือน ก.ย. 66 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 1.05การหดตัวของการส่งออกได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของยอดส่งออกสินค้าหมวดโลหะพื้นฐาน เครื่องจักร พลาสติกและยาง เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -12.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นเล็กน้อยจากเดือน ก.ย. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -12.2 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -14.55 นับเป็นการหดตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12อันเนื่องจากการหดตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดเครื่องจักรกล ผลิตภัณฑ์จากแร่ธาตุ และเคมีภัณฑ์ เป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 เกินดุลอยู่ที่ 5.77 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 1.03หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.05 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.93และสูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 2.75ตัวเลขดังกล่าวนับเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
อัตราการว่างงาน เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.4 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 63
ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ก.ย. 66หดตัวที่ร้อยละ -0.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -0.3 ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -0.2นับเป็นการหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2อันเนื่องจากการหดตัวอย่างมากของผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่และเหมืองหิน เป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีกเดือน ก.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการขยายตัวที่ชะลอลงของยอดขายสินค้าในหมวดยานยนต์ เป็นสาคัญ
มาเลเซีย
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากไตรมาสก่อนหน้า ที่ร้อยละ 4.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.3เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
มูลค่าส่งออก เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่านาเข้า เดือน ก.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -14.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -13.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 66 อยู่ที่ -3.51 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -4.13พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.9 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 6.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Hang HengHeng(ฮ่องกง) IDXIDX(อินโดนีเซีย) และ ShanghaiShanghai(จีน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 9พ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,41,404 97จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่6 -9พ.ย. 6666อยู่ที่42 553.97ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 6 -9 พ.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 6 958.63 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 3 ถึง 17 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่6 -9 พ.ย. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 14 432.51 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่9 พ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ
1121 897.19 ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่99พ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 35.4835.48บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.461.46จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยนที่ปรับตัวอ่อนคงลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.01
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง