เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -4.3 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ต.ค. 66 หดตัว
ร้อยละ -16.2 ต่อปี
? มูลค่าการส่งออกในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 8.0 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน
ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 10.2 ต่อปี
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค. 66 คิดเป็นร้อยละ 62.12 ของ GDP
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP สหรัฐ ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
? GDP อินเดีย ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
? GDP ไต้หวัน ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.32 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ภาคการเงิน
? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ต.ค. 66 เกินดุลที่ 664.61 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
? สินเชื่อในสถาบันการเงินในเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ต.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -4.3ต่อปี และหดตัวร้อยละ -1.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
โดยดัชนีหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 13 ตามการหดตัวของการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ อาหาร ยานยนต์ คอมพิวเตอร์ อาหาร ยางและพลาสติก เป็นต้น ที่หดตัวร้อยละ 6 4, -7.8, 21 5, และ -5.2 ต่อปี ตามลาดับ* ผลจากเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าบางประเทศยังคงชะลอตัว เช่น จีน และยุโรป ขณะที่ปัจจัยภายในประเทศเองยังคงได้รับผลกระทบจากภาวะอัตราดอกเบี้ยคงตัวในระดับสูง ปัญหาหนี้ครัวเรือนและหนี้ภาคธุรกิจที่ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการลดลง อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยวที่ยังเติบโตและภาคการส่งออกที่ส่งสัญญาณฟื้นตัว มีส่วนช่วยหนุนภาคการผลิตได้ (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 22หลัก
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ 16.216.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหกตัวที่ร้อยละ 5.65.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ 16.216.2โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กเส้นกลม เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กลวด ที่หดตัวร้อยละ
57.3 , 50.250.2และ 49.349.3ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการส่งออกในเดือน ต.ค. 66 มีมูลค่าอยู่ที่ 23,578.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 8.0เมื่อเทียบรายปี
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันและทองคา ขยายตัวร้อยละ 5.4 และการส่งออกในช่วง 10 เดือนแรกของปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -2.7 เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิข้าว ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง สิ่งปรุงรสอาหาร รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องโทรสาร โทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อุปกรณ์กึ่งตัวนา ทรานซิสเตอร์ และไดโอด หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักที่ขยายตัวดี อาทิ ตลาดสหรัฐ จีน และอาเซียน 5 ขณะที่ตลาดคู่ค้ารองก็ขยายตัวได้ดีในกลุ่มเอเชียใต้และทวีปออสเตรเลีย
มูลค่าการนาเข้าในเดือน ต.ค.66 มีมูลค่า 24,411.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 10.2 เมื่อเทียบรายปี
การนาเข้าของไทยขยายตัวสินค้าโดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง กลุ่มสินค้าอื่น ๆ กลุ่มสินค้าทุน และสินค้าอุปโภคบริโภค ตามลาดับ ทั้งนี้ การนาเข้าช่วง 10เดือนแรกของปี 66หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -4.6เมื่อเทียบรายปี
ด้านดุลการค้าในเดือน ต.ค. 66 ขาดดุลมูลค่า 832.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยช่วง 10 เดือนแรกปี 66 ขาดดุลสะสมที่ -6,665.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ต.ค.66 มีจานวนทั้งสิ้น11,12525,428 .08.08ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 62.122ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างลดลงสุทธิ 6,206.12ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 86.206.20ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.599ของยอดหนี้สาธารณะ
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ต.ค. 666เกินดุลที่ 664.61 ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 3,406.053,406.05ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน ต.ค. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 600.2ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่1,264.81,264.8ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666เกินดุลรวม 3,458.133,458.13ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 666มียอดคงค้าง 20.4 88ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.90.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ต.ค. 666มียอดคงค้าง 24.24.67 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.1จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวที่ร้อยละ -0.01 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยล 2.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (NBS) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.6จุด นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 11ติดต่อกัน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 49.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.5จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 49.7จุด
จีน
USUSไตรมาส 3ปี 66(ปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 เมื่อคานวนแบบ annualized rate
ยอดสร้างบ้านใหม่ (Housing start) เดือน ต.ค. 66ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เป็นการขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.0 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกประเภท ทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียม
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (19 25 พ.ย. 66) อยู่ที่ 2.18 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยที่ระดับ 2.11 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.20 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาเล็กน้อยอยู่ที่ 2.20แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ -16.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ -17.8จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ -17.6จุด
อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 6.5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.9และนับเป็นระดับต่าสุดตั้งแต่เดือน ก.ค. 64ทางด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานชะลอลงเช่นกันอยู่ที่ร้อยละ 3.6
ยูโรโซน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.8 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15 อันเนื่องจากการหดตัวลงในอัตราที่ลดลงของผลผลิตอุตสาหกรรมและยอดคาสั่งใหม่ (new order)
ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.2 ต่อปี ชะลอลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 4.2ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี การค้าปลีกยังคงขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เบื้องต้น) เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.9ต่อปี
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 36.1 ซึ่งเป็นระดับที่สูงสุดนับจาก ส.ค.66เป็นต้นมา
อัตราการว่างงาน เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับจาก มิ.ย. 66เป็นต้นมา
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ 48.3 ลดลงจากระดับ 48.7ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการลดลงของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 10.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน นับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 24ติดต่อกัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.45 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.59
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.4และนับเป็นการขยายตัวเป็นเดือนที่ 7ติดต่อกัน
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 66 ขาดดุลที่ระดับ -0.12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขาดดุลจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 2.73พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 6.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 5.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 5.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 6.0จาดช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 50.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.5จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 49.8จุด นับเป็นการขยายตัวสูงสุดของกิจกรรมในภาคอุตสาหกรรมนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 66
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 97.2 จุด ลดลงจากระดับ 98.1 จุด ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับจาก พ.ค.66เป็นต้นมา ท่ามกลางปัญหาเศรษฐกิจที่ชะลอตัวซึ่งส่งผลให้อานาจการจับจ่ายใช้สอดยที่ลดลง
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.1จากปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นเดือนที่สองของผลผลิตภาคอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น หลังจากลดลงติดต่อกัน 10เดือน
ธนาคารกลางเกาหลีใต้ (BOK) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.5 ในรอบประชุมเดือน พ.ย.66 ซึ่งเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยไว้ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 7ท่ามกลางความไม่แน่นอนทั่วโลกและความกังวลเกี่ยวกับหนี้ครัวเรือนที่เพิ่มขึ้น
ดุลการค้า เดือน พ.ย.66 เกินดุล 3.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6จากขยายตัวของภาคการส่งออกที่ร้อยละ 7.8ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -11.6(หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10)
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 50 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากระดับ 49.8ในเดือนก่อนหน้า
เกาหลีใต้
GDP
GDPไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 7.6 ต่อปี และขยายตัวร้อยละ 3.4เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ส่งผลให้ 9 เดือนแรกของปี 66 GDP ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 7.1ต่อปี
ดัชนีผลผลิตภาคโครงสร้างพื้นฐาน เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวร้อยละ 12.1 ต่อปี เร่งขึ้นจากร้อยละ 9.2ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า โดยผลผลิตเพิ่มขึ้นสาหรับการผลิตไฟฟ้า ถ่านหิน ซีเมนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปุ๋ย และน้ามันดิบ เป็นสาคัญ
อินเดีย
มูลค่าส่งออก เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวมากขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -5.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกหลังจากหดตัวติดต่อกัน 17เดือน
มูลค่านาเข้า เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวมากขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -0.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการกลับมาขยายตัวครั้งแรกหลังจากหดตัวติดต่อกัน 15เดือน
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ -25.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -64.58พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ยอดผลิตรถยนต์ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ 91,521 หน่วย ขยายตัวร้อยละ 31.6 ต่อปี และเป็นการเพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 8ติดต่อกัน หลังจากการประกาศการลงทุนครั้งสาคัญในการผลิตยานยนต์ขั้นสูงเมื่อเร็วๆ นี้
สหราชอาณาจักร
GDP
GDPไตรมาสที่ 3 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.322จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสที่ 22ปี 66 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.411จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 2 และเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาด หรือขยายตัวร้อยละ 1.9เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) โดยเศรษฐกิจไต้หวันได้รับแรงหนุนจากการส่งออกและนาเข้าที่หดตัวชะลอลง
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 48.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.6 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 18 แต่อย่างไรก็ตาม นับเป็นการหดตัวที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 66เนื่องจากผู้ผลิตลดจานวนผลผลิตลงในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 66
ไต้หวัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.86 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.56 จากช่วงเดียวหันของปีก่อน ซึ่งสูงกว่าการคาดการณ์ของตลาดที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.7 โดยยังคงอยู่ในเป้าหมายของธนาคารกลางที่ร้อยละ 2 -4 เป็นเดือนที่ 7ติดต่อกัน ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. โดยได้แรงหนุนหลักจากราคาขนส่ง อาหาร และเครื่องดื่ม เป็นสาคัญ
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.5จุด เนื่องจากผลผลิตเพิ่มขึ้นมากที่สุดนับตั้งแต่เดือนสิงหาคมและการจ้างงานกลับมาเติบโต
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 47.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.8 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15 อันเนื่องจากการหดตัวลงในอัตราที่ลดลงของผลผลิตอุตสาหกรรมและยอดคาสั่งใหม่ (new order)
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) TWSETWSE(ไต้หวัน) และ Heng SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3030พ.ย. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,380.181,380.18จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่2727-3030พ.ย. 6666อยู่ที่50,273.5150,273.51ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2727-3030พ.ย. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 5,645.965,645.96ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง 1 ถึง 10 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5151ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.881.88เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่27 30 พ.ย. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 6,266.096,266.09ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่3030พ.ย.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 125,188.3125,188.3ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่3030พ.ย. 666เงินบาทปิดที่ 34.4934.49บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.830.83จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.25
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง