เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ -2.6 ต่อปี และดัชนีราคา
สินค้าเกษตรกรรม ในเดือน พ.ย. 66 ลดลงร้อยละ -1.0 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ย. 66 เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -22.8 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.3 ต่อปี
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP สหรัฐอเมริกา ไตรมาส 3 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือนพ.ย.66 ปรับตัวลดลง ร้อยละ -2.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และปรับตัวลดลง ร้อยละ -0.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย.66พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญลดลง ร้อยละ -3.9 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 8.0 และหมวดประมงหดตัวที่ ร้อยละ -4.4 ภาพรวมผลผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้นทุกสินค้า ยกเว้น กลุ่มไม้ผลปรับตัวลดลง
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ย.66 ปรับตัวลดลง ร้อยละ -1.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และปรับตัวลดลงร้อยละ -2.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน พ.ย. 66 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 5.9 หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมง ทรงตัวอยู่ที่ ร้อยละ -19.7 และ ร้อยละ -15.8 ตามลาดับ โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผลไก่ ไข่ไก่ สินค้าที่ราคาปรับตัวลดลง ได้แก่ ข้าวโพด สุกร และกุ้งขาวแวนนาไม
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ย.66 มีจานวน 24 567คัน ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 0.2
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งขยายตัวสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญในช่วงเดือนที่ผ่านมา โดยเฉพาะรถอีโคคาร์ที่เติบโตได้ค่อนข้างสูง นอกจากนี้ยังได้รับปัจจัยสนับสนุน จากความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง กอปรกับตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่งและอัตราเงินเฟ้อที่ทรงตัวอยู่ในระดับต่าช่วยลดแรงกดดันต่อการบริโภค ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคของประชาชนยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในช่วงขาขึ้นและการเข้มงวดอนุมัติสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ ยังคงสร้างแรงกดดันต่อการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนต่อไป
ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ย. 66 มีจานวน 37,05437,054คัน หดตัวที่ร้อยละ
22.822.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 39.1
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน พ.ย. 66 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 122และลดลงจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.14.1มาจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้เสีย และอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัจจัยลบทางด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลให้มีการชะลอการตัดสินใจซื้อของผู้ประกอบการ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
5
ที่มา : 3 บริษัทเอกชน คานวณ โดย สศค.
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -0.3 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -2.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
Cement Sales
-0.3
-2.4
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0 %YoY %MoM_Sa
ในเดือน พ.ย. 66 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการ ลดลงในรอบ 7 เดือน
เนื่องจากราคาวัสดุก่อสร้างในหนวดซีเมนต์ยังคงเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากความต้องการใช้ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยอยู่ใน
ระดับสูง ทาให้ผู้ประกอบการชะลอการสั่งซื้อ แต่ขณะที่โครงการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์ยังคงเพิ่มขึ้น ส่งผล
ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์เพิ่มขึ้นในระยะถัดไป
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางจีน (PBOC) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (LPR) ประเภท 1 ปีที่ระดับร้อยละ 3.45 และคงอัตราดอกเบี้ย LPRLPRประเภท 5 ปีไว้ที่ระดับร้อยละ 4.20 ในวันที่ 20 ธ.ค. 66 ซึ่งเป็นไปตามที่นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดการณ์
จีน
ไตรมาส 3 ปี 66 (Final) ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน (ลดลงจากการประกาศครั้งก่อนที่ร้อยละ 3.0) เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 4.9 เมื่อคานวนแบบ annualized rate
ยอดสร้างบ้านใหม่ (Housing start) เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เป็นการเพิ่มขึ้นครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหกเดือน โดยมีการขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.0 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้านที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกประเภท ทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียม
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (10 -16 ธ.ค. 66) อยู่ที่ 2.05 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยที่ระดับ 2.03 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.15 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาเล็กน้อยอยู่ที่ 2.12แสนราย สะท้อนภาพตลาดแรงงานที่ยังยืดหยุ่น
สหรัฐอมเริกา
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9ช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ธ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ -15.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ -16.9 จุด และดีกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ -16.4 จุด
ยูโรโซน
ญี่ปุ่น
ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ) มีมติในรอบประชุม ธ.ค. 66 คงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นไว้ที่ร้อยละ -0.1 และตรึงเป้าหมายผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 10 ปี ไว้ที่ราวร้อยละ 0.0
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 666 ขาดดุล 776.94 พันล้านเยน โดยการส่งออกหดตัวร้อยละ 0.20.2ต่อปี เนื่องจากอุปสงค์ที่อ่อนแอจากจีน ในขณะเดียวกัน การนาเข้าหดตัวร้อยละ 11.9 ซึ่งเป็นการหดตัวเป็นเดือนที่ 8 ติดต่อกัน
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.82.8ต่อปี ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค.655ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.55ต่าสุดนับจาก ก.ค. 65
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
มาเลเซีย
การส่งออก เดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน ต.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -4.5 และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -5.2 นับเป็นการหดตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 อันเนื่องจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าหมวดเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หมวดเคมีภัณฑ์ หมวดปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์ม และหมวดอาหารทะเลเป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งจากเดือน ต.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -0.3 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -0.8 นับเป็นการกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากการนาเข้าหดตัวต่อเนื่องตั้งแต่ มี.ค. 66การนาเข้าได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการสั่งซื้อสินค้าประเภทสินค้าทุนที่ไม่ใช่เพื่อการคมนาคม และสินค้าคงทนเป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 66 เกินดุลอยู่ที่ 12.4 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 12.4 พันล้านริงกิตมาเลเซีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 1.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.8 และต่ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 1.7 ตัวเลขดังกล่าวนับเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ.64
สิงคโปร์
การส่งออกสินค้า (ไม่รวมน้ามัน) เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.01.0ต่อปี ซึ่งเป็นการขยายตัวครั้งแรกนับจาก ก.ย. 6565เนื่องจากได้แรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อิเล็กทรอนิกส์
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 66 เกินดุล 6 270.71 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทั้งนี้ ดุลการค้าในสิงคโปร์เฉลี่ยอยู่ที่ 1 209.67 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ตั้งแต่ปี 07 ถึงปี 66
สหราชอาณาจักร
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 3.73.7ต่อปี ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าสุดนับจาก ก.ย. 64 เป็นต้นมา ขณะทีอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนเดียวกัน อยู่ที่ร้อยละ 5.11ต่อปี ต่าสุดนับจาก ม.ค. 65
GDP
ไตรมาสที่ 3 ( ขยายตัวร้อยละ 0.66จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเท่ากับไตรมาสก่อนหน้า
ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -2.7 ต่อปี หดตัวต่อเนื่องจากร้อยละ -1.71.7ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า
ยอดค้าปลีก ไม่รวมเชื้อเพลิง) เดือน ต
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) Heng SengSeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 21ธ.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,404.841,404.84จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่1818-21ธ.ค. 6666อยู่ที่36,429.5936,429.59ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ และบัญชีตลาดหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1818-21 ธ.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 1 634.58ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลโดยรวมอายุไม่เกิน 66ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 3 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 9 ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง 5 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 และ 21 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.82 และ 2.31 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่18 2121ธ.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 1 11,918.08ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2121ธ.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 148,148.28148,148.28ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่21 ธ.ค. 666เงินบาทปิดที่ 34.94 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.0.54จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร วอน หยวนริงกิตมาเลเซีย และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.47
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง