เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ย. 66 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 90.9
? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน พ.ย. 66 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 60.9
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
Thai Industries Sentiment Index : TISI
Indicators
2022
2023
ทั้งปี
Q2
Q3
Oct
Nov
YTD
TISI
89.3
93.9
91.2
88.4
90.9
93.2
TISI (E)
98.2
103.8 99.0
94.5
97.3
101.4
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน พ.ย. 66 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 60.9 จากระดับ 60.2 ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
ความเชื่อมั่นผู้บริโภคได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐ โดยเฉพาะการปรับลดค่าไฟฟ้าและราคาน้ามัน เพื่อช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชน รวมไปถึงมาตรการยกเว้นวีซ่านักท่องเที่ยว ขณะที่จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยก็ขยายตัวดีขึ้นต่อเนื่อง และการส่งออกที่ผลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้ง รวมถึงราคาสินค้าเกษตรสาคัญหลายรายก็ทรงตัวในระดับดี เป็นผลให้กาลังซื้อของประชาชนเกือบทุกภูมิภาคปรับตัวดีขึ้น อย่างไรก็ดี สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ภาวะสงครามในตะวันออกกลางที่ยังคงยืดเยื้อ รวมถึงอัตราดอกเบี้ยที่ยังทรงตัวในระดับสูง ยังเป็นปัจจัยเชิงลบต่อกาลังซื้อของประชาชนในประเทศต่อไป
Indicators
2022
2023
ทั้งปี
Q2
Q3
Oct
Nov
YTD
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
43.9
55.8
57.1
60.2
60.9
56.2
ที่มา ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย
Consumer Confidence Index : CCI
60.2
60.9
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
2022
2023
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ย. 66 เพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 90.9จากระดับ 88.4ในเดือนก่อนหน้า
ดัชนี TISITISIเดือน พ.ย. 6666ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 5 เดือน โดยเป็นการปรับเพิ่มขึ้นในทุกองค์ประกอบย่อยของดัชนี* จากภาคการส่งออกที่มีทิศทางดีขึ้นต่อเนื่อง ตามอุปสงค์ประเทศคู่ค้าเริ่มฟื้นตัว คาสั่งซื้อและยอดขายที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับเทศกาลช่วงปลายปี รวมถึงมาตรการลดภาระค่าครองชีพประชาชน และการพักชาระหนี้เกษตรกร มีส่วนช่วยรักษากาลังซื้อของผู้บริโภค สาหรับปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นฯ เดือนนี้ มาจากต้นทุนด้านการเงินที่สูงขึ้นตามการปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังอยู่ในระดับสูง และความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อ สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 97.3 จากระดับ 94.5 ในเดือนก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากมาตรการภาครัฐทั้งโครงการ e Refund และโครงการฟรีวีซ่า รวมถึงมาตรการอื่น ๆ ที่ช่วยสนับสนุนการบริโภคภายในประเทศให้เติบโตต่อเนื่อง
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ย. 66ขยายตัวร้อยละ 6.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 5.6
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 10.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 ติดต่อกัน
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า
จีน
เมื่อวันที่ 12-13 ธ.ค. 66 ที่ประชุม FOMC ได้มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ช่วงร้อยละ 5.25-5.50 ต่อปี ตามที่คาดการณ์ ซึ่งเป็นการคงดอกเบี้ยต่อเนื่อง จากการประชุมครั้งก่อนเมื่อเดือน พ.ย. 66 จากการประชุม 8 ครั้ง ในปี 66 การประชุม FOMCFOMCได้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย จานวน 4ครั้ง ครั้งละ ร้อยละ 0.25และได้มีการคงอัตราดอกเบี้ย จานวน 4 ครั้ง (รวมครั้งนี้) FOMCFOMCได้ปรับเพิ่มคาดการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 66 -67 จากรอบเดือน ก.ย. 66 เดิมอยู่ที่ร้อยละ 2.1 และ 1.5 ต่อปี เป็นร้อยละ 2.6และ 1.4ต่อปี ตามลาดับ และคงคาดการณ์ ในปี 68ไว้ที่ร้อยละ 1.8ต่อปี และปรับปี 69เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.9ด้านอัตราเงินเฟ้อ PCEPCEปี 66 ปรับลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 3.3 ต่อปี มาเป็น 2.8 ต่อปี ส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานปรับลดลงในปี 66 จากร้อยละ 3.7 ต่อปี มาเป็น 3.2 ต่อปี และปี 67 ลดลงเป็นที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี และจะลดลงต่อเนื่องในปี 68-69ที่ร้อยละ 2.2และ 2.0ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่อัตราว่างงานในปี 66-68ได้คงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 3.84.1และ 4.1ของกาลังแรงงานรวม ตามลาดับ
เงินเฟ้อพื้นฐานสหรัฐฯ (Core Inflation Rate) ณ เดือน ธ.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 ต่อปี ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และมีทิศทางชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องนับจากเดือน มี.ค. 66
อัตราเงินเฟ้อสหรัฐฯ (Headline Inflation Rate) ณ เดือน ธ.ค. 66 ชะลอตัวลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.2ต่อปี เป็นร้อยละ 3.1ต่อปี ซึ่งถือเป็นระดับต่าสุดในรอบ 5เดือน
อัตราการว่างงาน ณ เดือน พ.ย. 66 ที่ร้อยละ 3.7 ลดลงจากร้อยละ 3.9เมื่อเดือน ต.ค. 66ซึ่งต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 66ที่ร้อยละ 3.5
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.0 ต่อปี หดตัวในอัตราชะลอตัวกว่าก่อนหน้าที่ร้อยละ -2.6ต่อปี
มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.8 ต่อปี หดตัวในอัตราเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -5.2ต่อปี
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 ขาดดุลที่ -3.0 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -9.8หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางยุโรป (ECB) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยในการประชุมวันที่ 14ธ.ค. 66ตามการคาดการณ์ของตลาด โดยเป็นการตรึงอัตราดอกเบี้ยติดต่อกันเป็นครั้งที่ 2การคงอัตราดอกเบี้ยดังกล่าว ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากอยู่ที่ระดับร้อยละ 4.00ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้อยู่ที่ระดับร้อยละ 4.75 ส่วนอัตราดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์อยู่ที่ระดับร้อยละ 4.50
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ต.ค. 66หดตัวร้อยละ -6.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -6.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ -4.6
ยูโรโซน
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ย.6666อยู่ที่ร้อยละ 3.93.9ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.83.8ของกาลังแรงงานรวม
ออสเตรเลีย
การสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน พ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -13.6 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -20.6เป็นการหดตัวมากที่สุดนับจาก มิ.ย.66โดยอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศยังคงหดตัว
คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลัก (ไม่รวมเครื่องจักรสาหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า) เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -2.2ต่อปี อย่างไรก็ดี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า จะขยายตัวร้อยละ 0.7จากการเพิ่มขึ้นของการลงทุนภาคเอกชน เป็นสาคัญ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ต.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 1.1ต่อปี ทั้งนี้ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในญี่ปุ่นมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.58นับตั้งแต่ปี 2497ถึงปัจจุบัน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (เบื้องต้น) เดือน ธ.ค. 66อยู่ที่ 47.7 ลดลงจากระดับ 48.3ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการลดลงของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน ธ.ค. 66 อยู่ที่ 52 เพิ่มขึ้นจากระดับ 50.8ในเดือนก่อนหน้า
ญี่ปุ่น
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ซึ่งเป็นอัตราสูงสุดนับจาก ก.ค. 66
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial production) เดือน ต.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 11.7ต่อปี ขยายตัวสูงสุดนับจาก มิ.ย. 66
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ร้อยละ 5.66ต่อปี ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 4เดือน จากปัจจัยการเพิ่มขึ้นของราคาอาหาร
อินเดีย
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) ของภาคเอกชน เดือน พ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 55.8 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9ของกิจกรรมภาคเอกชน
ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.1 ต่อปี (หรือหดตัวร้อยละ -0.8จากเดือนก่อนหน้า) ซึ่งเป็นการหดตัวครั้งแรกนับตั้งแต่ ม.ค. 66เป็นต้นมา
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว)(Final) ไตรมาส 3 ปี 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 1.9ในไตรมาสก่อนหน้า
สิงคโปร์
มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ย. 6666หดตัวที่ร้อยละ 8.68.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 10.410.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่ากานาเข้า เดือน พ.ย. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 3. 33จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ 2.42.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 6666อยู่ที่ระดับ 2.42.4พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 3.53.5พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ยอดค้าปลีก เดือน ต.ค. 6666ขยายตัวที่ร้อยละ 2.42.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.51.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 55โดยเป็นการขยายตัวเร่งขึ้นของยอดขายอาหาร และเครื่องใช้ภายในบ้าน เป็นสาคัญ
อินโดนีเซีย
ดุลการค้าสินค้า (Goods Trade Balance) เดือน ต.ค. 66 เดือน ต.ค. 66 ขาดดุล -17.03 พันล้านปอนด์ จากที่ขาดดุล -14.299พันล้านปอนด์ในเดือนก่อน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial production) เดือน ต.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 0.4ต่อปี ชะลอลงจากร้อยละ 1.5ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักรมีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 1.69นับตั้งแต่ช่วงปี ปี 2493ถึงปัจจุบัน
มูลค่าส่งออก เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -17.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -6.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่านาเข้า เดือน ต.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -4.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -14.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ -4.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -3.31พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
การส่งออก เดือน พ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งจากเดือน ต.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -4.5 ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.6 การขยายตัวของการส่งออกได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวอย่างแข็งแกร่งของยอดส่งออกสินค้าหมวดสารสนเทศ การสื่อสาร และโสตทัศนูปกรณ์ เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -14.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือน ต.ค. 66ที่หดตัวที่ร้อยละ -12.3และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -2.85 นับเป็นการหดตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13อันเนื่องจากการหดตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดเครื่องจักรกล และผลิตภัณฑ์จากแร่ธาตุ เป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน พ.ย. 66 เกินดุลอยู่ที่ 9.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 5.8พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
ธนาคารกลางของไต้หวันได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 1.99ในการประชุมเดือน ธ.ค. 66 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดและเป็นการคงอัตราดอกเบี้ยครั้งที่สามหลังประกาศปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายไปในการประชุมเมื่อเดือน มี.ค. 66 การประกาศคงอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้เพื่อสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจและการเงินของไต้หวันในภาพรวมให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ รวมทั้งยังสอดคล้องกับตัวเลขอัตราเงินเฟ้อเดือน พ.ย. 66ที่ปรับตัวลดลง และมีแนวโน้มปรับตัวลดลงไปสู่ระดับเป้าหมายที่ร้อยละ 2ในปี 2567
ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งจากเดือน ก.ย. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.4จากการขยายตัวของผลผลิตอุตสาหกรรมหมวดเหมืองแร่ ก๊าซธรรมชาติ และไฟฟ้า เป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีกเดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการขยายตัวที่ชะลอลงของยอดขายสินค้าทั้งในร้านค้ากลุ่ม non specialised store และ specialised stores
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) ShanghaiShanghai(จีน) และ Heng SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1414ธ.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,378.941,378.94จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่1212-1414ธ.ค. 6666อยู่ที่38,074.6938,074.69ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1212-1414ธ.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 2,169.742,169.74ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 33เดือน และ 66เดือน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11ปี ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง 11ถึง 11 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1111ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.212.21เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่12 1414ธ.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 1,841.261,841.26ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่1414ธ.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 135,905.72135,905.72ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่1414ธ.ค. 666เงินบาทปิดที่ 35.1335.13บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.410.41จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเปโซ และริงกิตปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.26
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง