ฉบับที่ 46/2566 วันที่ 28 ธันวาคม 2566
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนพฤศจิกายน 2566
เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน ที่ขยายตัวได้ในภาคใต้ และ กทม. และปริมณฑล รวมถึงภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ดี อีกทั้งความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกภูมิภาค
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนพฤศจิกายน 2566 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน ที่ขยายตัวได้ในภาคใต้ และ กทม. และปริมณฑล รวมถึงภาคการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ดี อีกทั้งความเชื่อมั่น ของผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกภูมิภาค? โดยมีรายละเอียดดังนี้
เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้ อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 10.6 1.7 และ 10.1 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่รายได้เกษตรกรชะลอตัวร้อยละ -0.7 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 3.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาล ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 57.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 57.1 เครื่องชี้ ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุก จดทะเบียนใหม่ชะลอตัว อย่างไรก็ตาม เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการมีมูลค่า 2,069 ล้านบาท ขยายตัว ร้อยละ 767.8 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตถุงมือยางทางการแพทย์ ในจังหวัดสงขลา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 95.1 เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 92.2 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้ จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 64.1 และ 61.3 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑลในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชน และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวได้อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 1.4 8.1 และ 2.1 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่รายได้เกษตรกรชะลอตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 60.7 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 60.0 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 16.4 ต่อปี ขณะที่จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ ชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 91.8
2
เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.1 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้ จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 18.4 และ 49.1 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว อีกทั้ง ความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวร้อยละ 4.4 3.6 และ 2.8 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -10.4 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 8.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 61.5 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 60.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ขณะที่เงินทุน ของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการมีมูลค่า 342.7 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 126.9 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานแปรรูปและแช่แข็งพืชในจังหวัดพะเยา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนี ความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 96.9 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 93.4 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 5.5 และ 21.7 ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว และการลงทุนภาคเอกชน อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อปี ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรชะลอตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 63.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 62.8 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ขยายตัวร้อยละ 0.6 ต่อปี เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการมีมูลค่า 2,828.5 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 15.5 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ตัวกึ่งนา ชนิดไวที่เกี่ยวข้องกับ Semi-Conductor ในจังหวัดชลบุรี เป็นสาคัญ ขณะที่จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล จดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม อยู่ที่ระดับ 86.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 83.7 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวน ผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 20.9 และ 45.4 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 0.2 ต่อปี จานวนรถยนต์นั่ง จดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -7.8 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ส่วนจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 59.1 เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 91.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.1 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัว ร้อยละ 19.5 และ 34.3 ต่อปี ตามลาดับ
3
เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัว 11.0 และ 4.3 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 63.5 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 62.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการชะลอตัว ขณะที่จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ชะลอตัวร้อยละ -19.2 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 5.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 87.1 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 85.8 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 21.4 และ 30.4 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคกลาง ในเดือนพฤศจิกายน 2566 ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยว อีกทั้งความเชื่อมั่นผู้บริโภค และความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวร้อยละ 14.6 ต่อปี แต่ชะลอตัวร้อยละ -0.6 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล เช่นเดียวกับจานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ รถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรชะลอตัว ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 59.1 เพิ่มขึ้น จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 58.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากเงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการมีมูลค่า 73,696.1 ล้านบาท ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 94,140 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน ในจังหวัดสระบุรี เป็นสาคัญ ขณะที่จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล จดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ชะลอตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 91.8 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 89.1 เครื่องชี้ ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวร้อยละ 11.9 และ 34.3 ต่อปี ตามลาดับ
โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ
4
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจาเดือนพฤศจิกายน 2566
ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
13.5
13.9
5.1
2.5
10.6
10.8
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
16.8
3.4
2.2
6.9
1.7
8.0
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
20.0
8.2
4.4
10.8
10.1
11.4
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
40.2
52.3
53.9
57.1
57.8
52.6
รายได้เกษตรกร (%yoy)
7.2
-34.7
-18.3
-8.0
-0.7
-20.9
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
9.8
-31.6
-32.0
-24.3
-26.6
-26.4
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-1.6
-11.0
-16.7
-18.7
-19.1
-14.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
6.9
0.8
0.8
0.2
2.1
5.2
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-25.3
-31.0
-78.5
-15.6
767.8
-20.1
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-0.2
-7.0
-7.6
-6.5
-
-5.8
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
85.4
87.8
89.4
92.2
95.1
89.1
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
293.8
110.7
68.3
63.8
64.1
92.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
207.9
50.2
43.3
43.5
34.7
48.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
1,836.6
371.5
125.4
106.9
120.1
227.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
552.2
123.8
43.2
64.5
61.3
96.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
186.2
26.6
34.9
51.4
41.0
33.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
1,330.5
182.3
45.7
68.8
67.1
125.2
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
2.2
0.7
0.4
-0.3
-0.6
1.1
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
2.1
1.5
-
-
-
1.5
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.8
0.7
0.7
0.6
-
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
5
ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-3.0
-1.8
-2.0
5.2
1.4
-0.3
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
24.8
4.9
1.4
5.4
8.1
6.5
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
8.3
11.9
8.7
13.1
2.1
10.8
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
42.4
55.2
56.6
60.0
60.7
55.6
รายได้เกษตรกร (%yoy)
12.5
-0.4
-4.2
-7.9
-14.5
-0.4
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
13.3
-20.9
-32.3
-24.0
-36.2
-26.3
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-0.3
0.1
7.2
-2.2
16.4
2.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
28.5
7.3
6.2
1.9
3.2
28.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-6.0
7.6
-18.7
-7.8
-19.0
8.1
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-1.3
-7.9
-7.6
-7.2
-
-7.3
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
91.2
97.8
93.8
89.1
91.8
96.1
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
220.7
63.9
34.9
21.9
18.4
50.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
163.5
16.5
11.1
6.6
10.7
15.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
1,465.7
332.0
106.9
61.2
33.4
194.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
436.5
166.4
80.5
62.6
49.1
127.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
177.0
7.8
4.8
7.1
18.7
13.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
1,854.3
381.5
130.4
92.2
60.9
227.8
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
4.6
1.6
1.0
0.2
-0.1
1.8
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.3
1.1
-
-
-
1.1
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.6
0.5
0.4
-
0.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
6
ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
0.9
9.0
11.1
5.3
4.4
7.3
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
8.9
13.0
9.7
8.3
3.6
11.0
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
6.3
2.6
-5.4
-1.4
-10.4
1.1
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
46.5
57.0
58.3
60.9
61.5
57.2
รายได้เกษตรกร (%yoy)
16.0
15.4
2.7
17.2
2.8
10.5
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
0.8
-22.3
-26.2
-18.4
-19.5
-20.3
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
14.5
-0.3
-0.2
19.3
-13.9
-1.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
4.8
3.3
1.6
0.8
0.3
6.9
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-61.0
319.6
58.9
16.2
126.9
48.6
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-0.7
-7.6
-9.1
-10.5
-
-8.2
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
68.9
93.8
97.1
93.4
96.9
93.1
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
168.9
21.0
9.2
11.8
5.5
19.5
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
156.1
10.0
1.7
8.4
3.1
9.9
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
2,391.0
564.0
149.9
47.4
24.8
229.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
202.8
48.0
31.0
33.7
21.7
42.5
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
174.4
21.4
13.0
23.9
14.9
19.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
3,821.6
831.7
199.8
83.5
49.2
296.3
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
4.0
1.4
0.1
-0.5
-0.6
1.4
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.3
0.9
-
-
-
1.0
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.7
0.7
0.8
-
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
7
ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
29.4
-15.7
-20.7
4.1
3.0
-11.5
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
19.8
2.9
-6.3
-2.3
-8.1
3.1
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
23.2
14.3
2.5
0.6
-10.6
10.0
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
46.8
58.6
59.8
62.8
63.4
58.6
รายได้เกษตรกร (%yoy)
2.3
6.3
9.6
-7.8
-30.6
6.4
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
5.5
-25.9
-29.5
-16.4
-36.5
-24.7
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
8.3
-6.8
-8.5
1.6
0.6
-4.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
34.2
3.9
18.0
1.6
2.8
46.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-14.1
-73.7
131.1
3.0
15.5
47.1
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
3.0
-2.8
-3.7
3.5
-
-1.5
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
104.8
88.3
82.5
83.7
86.3
88.3
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
245.3
79.0
59.1
35.7
20.9
64.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
222.4
40.6
29.1
17.5
3.7
33.9
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
4,189.3
1,187.2
477.5
205.3
133.8
533.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
428.0
146.1
110.5
69.7
45.4
115.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
334.8
39.2
32.3
17.8
0.8
32.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
6,628.7
1,248.7
465.5
243.6
146.3
541.5
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
11.2
0.6
0.6
0.0
-0.1
1.1
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.0
0.7
-
-
-
0.9
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.7
0.6
0.5
-
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
8
ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
43.1
2.5
-15.7
-6.7
0.2
-0.1
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
14.1
-1.9
-6.8
5.2
-7.8
-3.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
11.8
12.8
4.1
5.1
-10.9
8.9
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
43.0
54.2
55.5
58.4
59.1
54.4
รายได้เกษตรกร (%yoy)
18.3
0.9
-7.2
5.6
0.0
3.8
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
0.2
-30.7
-27.6
-1.1
-23.9
-23.1
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-2.4
6.5
-1.4
9.7
-11.6
0.0
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
4.4
3.9
2.0
0.7
0.3
7.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
32.3
354.7
1,153.8
-33.3
-32.5
77.6
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
2.7
-2.8
-6.6
-6.9
-
-4.0
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
91.2
97.8
93.8
89.1
91.8
96.1
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
206.0
34.5
26.8
17.6
19.5
32.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
203.6
32.0
24.7
16.9
18.7
30.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
3,135.2
491.9
257.0
62.2
68.2
305.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
185.1
31.7
32.2
28.0
34.3
35.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
178.9
25.4
26.2
26.1
32.1
29.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
3,260.1
459.5
285.9
75.1
82.6
306.4
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
4.1
1.2
0.4
-0.5
-0.6
1.4
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.9
1.1
-
-
-
0.9
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.6
0.6
1.0
-
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
9
ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอีสาน
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-1.2
3.9
1.4
5.6
11.0
3.8
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
3.3
-8.0
-11.7
-4.5
-14.3
-7.7
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
9.1
-2.6
-9.8
-4.9
-8.2
-4.0
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
48.0
58.9
60.3
62.9
63.5
59.0
รายได้เกษตรกร (%yoy)
15.9
8.9
5.8
10.9
4.3
8.2
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-6.5
-36.9
-39.3
-19.9
-31.3
-34.6
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
3.0
-10.8
-16.8
1.2
-19.2
-11.0
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
20.4
1.1
1.6
0.4
0.2
8.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
51.9
-92.3
-17.7
1.4
-46.9
-53.5
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-1.1
-7.3
-6.2
-7.1
-
-6.1
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
84.1
97.0
92.8
85.8
87.1
95.0
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
151.7
30.0
20.4
21.5
21.4
28.7
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
145.8
23.1
18.1
19.0
19.3
24.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
2,947.6
559.8
77.1
82.8
69.3
213.5
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
163.6
39.7
27.4
32.3
30.4
38.7
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
153.8
28.2
23.4
28.0
26.7
31.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
3,617.5
590.5
89.9
100.2
83.4
234.7
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
7.0
1.5
0.5
-0.5
-0.5
1.4
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.0
0.8
-
-
-
0.7
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.9
1.0
0.9
1.0
-
0.9
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
10
ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2565 Q2/66 Q3/66 ต.ค.66 พ.ย.66 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-9.1
-10.4
1.9
8.2
14.6
-4.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
13.4
-9.9
-10.4
-15.2
-27.4
-10.3
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
19.6
10.5
4.4
9.5
-3.0
10.9
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
43.0
54.2
55.5
58.4
59.1
54.4
รายได้เกษตรกร (%yoy)
18.6
5.3
-2.1
6.1
-9.6
2.3
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-5.9
-31.2
-28.3
-18.3
-33.4
-30.6
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
1.3
-2.7
-12.5
27.2
-11.6
-5.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
9.9
2.3
3.5
0.4
73.7
81.6
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-66.2
279.3
-3.8
-80.1
94,140.6
828.9
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-1.9
-5.6
-7.3
-7.2
-
-6.5
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
91.2
97.8
93.8
89.1
91.8
96.1
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
250.5
14.9
13.7
28.0
11.9
19.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
244.9
7.0
7.1
23.2
10.6
12.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
1,948.8
1,481.2
375.7
255.4
39.1
458.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
246.9
27.0
29.7
52.0
34.3
35.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
238.4
15.3
19.4
44.2
31.4
24.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
2,416.2
1,413.4
378.8
285.4
75.4
483.3
เครื่องชี้ภาพรวมเศรษฐกิจ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
7.1
0.9
0.8
-0.2
-0.1
1.3
อัตราการว่างงาน (คานวนจากข้อมูล3เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.9
2.1
-
-
-
2.1
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.6
0.8
0.7
0.6
-
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
11
ตารางที่ 8 เครื่องชี้เศรษฐกิจรายภาคในเดือนพฤศจิกายน 2566 ปรับผลทางฤดูกาล (MoM_SA) เครื่องชี้เศรษฐกิจ ใต้ กทมปริฯ เหนือ ตะวันออก ตะวันตก อีสาน กลาง
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่_SA (%mom)
1.3
-1.9
-8.5
-1.7
3.7
-3.8
-0.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
4.4
8.3
4.5
3.2
7.0
-3.9
-0.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
1.4
-0.7
8.4
-0.5
-5.2
4.8
0.0
รายได้เกษตรกร_SA (%mom)
3.2
-1.7
-2.5
-8.3
11.4
-4.3
-1.7
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
-8.4
-3.9
8.6
-6.4
-5.9
-3.4
-2.0
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
8.8
19.1
-12.9
8.4
3.0
5.0
-8.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (พันล้านบาท)
0.7
3.2
0.8
3.3
0.7
0.2
21.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (%mom)
159.4
59.2
-7.0
29.5
160.3
-61.0
1,877.9
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม_SA (%mom)
-
-
-
-
-
-
-
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด_SA (%mom)
7.6
-3.2
-7.7
-8.5
-2.3
-4.5
-8.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน_SA (%mom)
13.9
1.9
-6.0
3.7
3.5
-4.0
-4.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า และสานักงานสถิติแห่งชาติ คานวณและรวบรวม: สศค.
*_SA หมายถึง ข้อมูลที่ปรับผลทางฤดูกาลแล้ว
ที่มา: กระทรวงการคลัง