เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน พ.ย. 66 หดตัวร้อยละ -4.7 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน พ.ย. 66 หดตัว
ร้อยละ -13.8 ต่อปี
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน พ.ย. 66 ขยายตัว
ร้อยละ 53.2 ต่อปี
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ย. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ
3.1 ต่อปี
? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ -1.2 ต่อปี
? มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 4.9 ต่อปี และมูลค่าการนาเข้าในเดือน
พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 10.1 ต่อปี
เศรษฐกิจไทย
? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ย. 66 ขาดดุลที่ -1,243.67 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
? สินเชื่อในสถาบันการเงินในเดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 66 ขยายตัวร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ย. 66หดตัวที่ร้อยละ -4.7ต่อปี และหดตัวร้อยละ -0.8เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
Indicators
(%yoy)
2022
2023
ทั้งปี
Q2
Q3
Oct
Nov
YTD
ยอดจาหน่ายเหล็ก
-10.9
-
19.1 3.1
-
16.2 -
13.8 -
10.7
%mom_sa,
%qoq_sa
-
-
12.5 18.4
-
5.6 -
2.3 -
Manufacturing Production Index :
MPI
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม
-
13.8
-
2.3
-40.0
-20.0
0.0
20.0
40.0
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
Sep-23
Nov-23
% YoY
% MoMSA
โดยดัชนีหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 14 ตามการหดตัวของการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ อาหาร ยานยนต์ คอมพิวเตอร์ ยางและพลาสติก เป็นต้น ที่หดตัวร้อยละ 5 5, -15.0, 12 7, และ -3.2 ต่อปี ตามลาดับ* โดยเป็นผลจากเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าที่ยังคงชะลอตัว ขณะที่ปัจจัยภายในประเทศ เศรษฐกิจไทยยังคงฟื้นตัวได้ช้าจากภาวะอัตราดอกเบี้ยคงตัวในระดับสูงส่งผลให้ยอดการปล่อยสินเชื่อต่าลง และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่กระทบการจับจ่ายของประชาชน อย่างไรก็ดี ภาคการส่งออกและการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวได้ดี ช่วยให้ความต้องการสินค้าอุตสาหกรรมสูงขึ้น (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 22หลัก
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ 13.813.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหกตัวที่ร้อยละ 2.32.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน พ.ย. 66 หดตัวร้อยละ 13.813.8โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่ลดลงของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กลวด เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่หดตัวร้อยละ 43.4 37.637.6และ 29.029.0ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้อัตราการใช้กาลังการผลิตของอุตสาหกรรมเหล็กไทยลดลงทุกผลิตภัณฑ์รวมทั้งดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเหล็กยังคงหดตัว
?เดือนพฤศจิกายน 2566 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน โดยได้รับแรงสนับสนุนจากนักท่องเที่ยวมาเลเซีย และยุโรป โดยเฉพาะชาวรัสเซียที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศยังขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน พ.ย. 66 มีจานวน 2.64 ล้านคน ขยายตัวเร่งมาอยู่ที่ร้อยละ 53.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนโดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย จีน รัสเซีย อินเดีย และเกาหลีใต้ ตามลาดับ โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.6 เนื่องจากเป็นช่วงปิดภาคเรียนในมาเลเซีย และ Winter
holidayholidayในยุโรป ทาให้นักท่องเที่ยวจากยุโรปเดินทางมาเที่ยวประเทศไทยจานวนมาก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจาก รัสเซีย เยอรมนี และสหราชอาณาจักร ทั้งนี้ รัฐบาลได้มีการออกมาตรการยกเว้นการตรวจลงตราและให้นักท่องเที่ยวชาวรัสเซียอยู่ในราชอาณาจักรได้ไม่เกิน 90วันเป็นกรณีพิเศษ (จากเดิม 30วัน) โดยมีเงื่อนไขให้มีผลบังคับใช้ชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 1พ.ย. 66ถึงวันที่ 30เม.ย. 67
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยใน พ.ย. 66 มีจานวน 21.6 ล้านคน ขยายตัวอัตราชะลอร้อยละ 13.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -20.3 ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือน ม.ค.-พ.ย. 66มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยแล้วจานวน 224.7 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 23.9เป็นจานวนที่สูงกว่าทั้งปี 65และอยู่ในดับใกล้เคียงกับปี 2563ที่มีจานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งปี 229.7ล้านคน ขณะที่รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน พ.ย. อยู่ที่ 73,108ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 20.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า หดตัวที่ร้อยละ -18.1 โดยรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่การใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยอยู่ในระดับใกล้เคียงกับเดือนก่อน โดยอยู่ที่ 3,381 บาท/คน/ทริป ขยายตัวที่ ร้อยละ 6.0ต่อปี ทั้งนี้ ตั้งแต่เดือน ม.ค.-พ.ย. 66รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยแล้วจานวน 7.16แสนล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 25.3
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ย. 66ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1ต่อปี และหดตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ -1.6
เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 (%YoY) โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภายในประเทศที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง ประกอบกับความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ปรับตัวดีขึ้นสะท้อนถึงการบริโภคของประชาชนที่ยังคงมีแข็งแกร่ง ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ากลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 1.0 (%YoY) ปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการนาเข้าสินค้าที่มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น
ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ย.66 หดตัวที่ร้อยละ 1.21.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และลดลงร้อยละ 5.95.9เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ย.66 หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน มีปัจจัยมาจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง และปัญหาหนี้ครัวเรือนรวมทั้งปัญหาผู้ซื้อบ้านผ่อนต่อไม่ไหวที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัยและมีการควบคุมหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ แต่ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวขยายตัวอย่างต่อเนื่องส่งผลให้การบริโภคเพิ่มขึ้น
5
Indicators
(%yoy)
2022
2023
ทั้งปี
Q2
Q3
Oct
Nov
YTD
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์
13.4
-
5.1 0.4
9.0
-
1.2 3.8
%mom_sa,
%qoq_sa
-
-
4.9 0.9
2.3
-
5.9 -
Indicators
(%yoy)
2022
2023
ทั้งปี
Q2
Q3
Oct
Nov
YTD
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่
6.4
-8.2
-
7.7 5.2
3.1
-
3.0
%mom_sa,
%qoq_sa
-
-6.3
-
1.8 5.0
-
1.6
108.75
106.69
112.98
90.00
100.00
110.00
120.00
130.00
140.00
150.00
Jan
Mar
May
Jul
Sep
Nov
Jan
Mar
May
Jul
Sep
2022
2023
ภาษีมูลค่าเพิ่มโดยรวม
จัดเก็บในประเทศ
จัดเก็บจากการนาเข้า
2021
100 (SA)
Sources:
กองนโยบายการคลัง สศค
ภาษีมูลค่าเพิ่มณ ระดับราคาคงที่ (RealVATRealV
มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ย. 66 มีมูลค่าอยู่ที่ 23,479.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ 4.9เมื่อเทียบรายปี
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันและทองคา ขยายตัวร้อยละ 4.0 และการส่งออกในช่วง 11 เดือนแรกของปี 66 หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -1.5 เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิข้าว ยางพารา สิ่งปรุงรสอาหาร ผักกระป๋องและผักแปรรูป ผักสด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง กุ้งต้มสุกแช่เย็น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์กึ่งตัวนา ทรานซิสเตอร์ และไดโอด หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักที่ขยายตัวดี อาทิ ตลาดสหรัฐ ญี่ปุ่น และอาเซียน 5 ขณะที่ตลาดคู่ค้ารองก็ขยายตัวได้ดีในกลุ่มเอเชียใต้และทวีปออสเตรเลีย
มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ย.66 มีมูลค่า 25,879.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบรายปี
การนาเข้าของไทยขยายตัวสินค้าโดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุนกลุ่มสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่งและสินค้าเชื้อเพลิงตามลาดับ ทั้งนี้การนาเข้าช่วง 11 เดือนแรกของปี 66หดตัวเฉลี่ยร้อยละ -3.8เมื่อเทียบรายปี
ด้านดุลการค้าในเดือน พ.ย. 66 ขาดดุลมูลค่า
2,3992,399.44ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยช่วง 11 เดือนแรกปี 66 ขาดดุลสะสมที่ -6,1165.33ล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ย. 666ขาดดุลที่ 1,243.671,243.67ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 664.61664.61ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน พ.ย. 666ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ 1,085.091,085.09ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) ขาดดุลจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 158.58158.58ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 666เกินดุลรวม 4,464.674,464.67ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Current Account
7
ที่มา ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 666มียอดคงค้าง 20. 5353ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.11.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน พ.ย. 666มียอดคงค้าง 24. 777 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.90.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.33จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจหดตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.22จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.88จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.44จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.30.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขณะที่เงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ต.ค. 66 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ฮ่องกง
ยอดขายบ้านใหม่ เดือน พ.ย. 66 หดตัวที่ร้อยละ -12.2 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากหดตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -4ซึ่งเป็นการหดตัวต่อเนื่อง 2เดือนนับจากการขยายตัวที่ร้อยละ 7ในเดือน ก.ย. 66
ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ต.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 0.6และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 0.6
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei 225225(ญี่ปุ่น) IDXIDX(อินโดนีเซีย) และ TWSETWSE(ไต้หวัน) เป็นต้น เมื่อวันที่ 277ธ.ค. 666ดัชนีปิดที่ระดับ 1,410.431,410.43จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่2525-277ธ.ค. 6666อยู่ที่31,699.6831,699.68ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2525-277ธ.ค. 66 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ 796.69796.69ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 22ถึง 2020ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง 1 ถึง 8 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่25 2727ธ.ค. 66 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,048.242,048.24ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่2727ธ.ค.6666กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ 147,217.17147,217.17ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่277ธ.ค. 666เงินบาทปิดที่ 34.4646บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.331.33จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลหยวนปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.98
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง