เศรษฐกิจไทย
Executive Summary
1 1
? อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 67 ลดลงที่ร้อยละ -1.1 ต่อปี และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
ขยายตัวร้อยละ 0.5 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 67 ลดลงร้อยละ -1.0 ต่อปี
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -1.8 ต่อปี
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP อินโดนีเซีย ไตรมาส 4 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 5.04 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ม.ค. 67 ลดลงที่ร้อยละ -1.1ต่อปี
?
เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน ม.ค. 67 ลดลงร้อยละ -1.1 (YoY) (ใกล้เคียงกับที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน ม.ค. 67 ที่ร้อยละ -1.0 (YoY) ) ลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 และต่าสุดในรอบ 35 เดือน จากการลดลงของราคาสินค้าหมวดพลังงานเป็นหลัก (ตามมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพของภาครัฐ โดยเฉพาะการตรึงราคาน้ามันดีเซลให้อยู่ในระดับไม่เกิน 30 บาทต่อลิตร และการลดราคาค่ากระแสไฟฟ้าให้กับประชาชนบางส่วน) รวมถึงกลุ่มอาหารสดที่ยังคงลดลงต่อเนื่อง
?
สาหรับราคาสินค้าและบริการอื่น ๆ ยังคงเคลื่อนไหวในทิศทางปกติ และมีสินค้าที่ราคาปรับขึ้น ได้แก่ กระดาษชาระ บุหรี่ สุรา เป็นต้น หากเทียบกับเดือนก่อนหน้าเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้นร้อยละ +0.02 (MoM)
?
โดย เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่า หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง และหมวดอาหารสด เป็นปัจจัยลบที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.6 และ -0.6 ตามลาดับ ขณะที่หมวดอาหารสาเร็จรูปยังเป็นปัจจัยบวกที่ทาให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น ร้อยละ +0.2
?
และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัว +0.5 (YoY) และทรงตัวที่ +0.02 (MoM) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 67ลดลงร้อยละ -1.0เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ม.ค. 67ลดลงร้อยละ -1.0เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยสาเหตุมาจากหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก ลดลงร้อยละ -3.3ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10จากราคาเหล็กในตลาดโลกที่ปรับลดลง และในหมวดสุขภัณฑ์ลดลงร้อยละ -3.0จากการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับผลกระทบจากอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นและความเข้มงวดของการปล่อยสินเชื่อ และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ -4.8 ขณะที่หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดกระเบื้อง หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา มีดัชนีราคาสูงขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ที่มา :กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ม.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -1.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 7.6
โดยยังคงได้รับแรงกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ ทั้งการตรวจสอบอย่างเข้มงวดต่อผู้ขอสินเชื่อ การตรวจสอบเครดิตบูโร หรือการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติของผู้กู้ ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่ทรงตัวในระดับสูงและรายได้เกษตรกรที่ลดลง ส่งผลให้การบริโภคของประชาชนชะลอตัวลงตามไปด้วย แต่อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยว และอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนต่อไป
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนธ.ค.66คิดเป็น 2.04เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ธ.ค. 66อยู่ที่ 5.53 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (LiquidityCoverageRatio:LCR)ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ดัชนี PMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.9จุด นับเป็นการขยายตัวของภาคบริการต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13ติดต่อกัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ -0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ -0.3โดยนับเป็นการลดลงของอัตราเงินเฟ้อต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน
จีน
อัตราการว่างงานในเดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดเล็กน้อยที่ร้อยละ 3.8
ดัชนี PMIภาคบริการ (ของ ISM)เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ 53.4 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 50.5จุด ดีกว่าที่ตลาดคาดที่ 52จุด
มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 66 หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อนจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่านาเข้า เดือน ธ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -2.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ส่งผลให้ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 66 ขาดดุลที่ -62.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ -61.9พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ตัวเลขการจ้างงาน (Nonfarmpayrolls)ของเดือน ม.ค. ปรับเพิ่มขึ้น 3.53แสนตาแหน่ง สูงกว่าคาดที่ 1.85 แสนตาแหน่ง ขณะที่ค่าจ้างรายชั่วโมงเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 (MoM)สูงกว่าที่ตลาดคาด
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (28ม.ค. -3ก.พ. 67) อยู่ที่ 2.18แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.27 แสนราย และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.20 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (fourweekmoving average)ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.12แสนราย
นาย Powellประธาน Fedกล่าวว่าการลดดอกเบี้ยครั้งแรกของ Fedน่าจะเกิดขึ้นหลังเดือน มี.ค. 67
สหรัฐอเมริกา
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -0.4
ดัชนี PMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 48.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.8จุด นับเป็นการหดตัวเป็นเดือนที่ 6ติดต่อกันของภาคบริการ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางอินเดีย (RBI)มีมติในที่ประชุมเดือน ก.พ. 67คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.5 สาหรับท่ามกลางแรงกดดันด้านราคาที่ยังคงมีอยู่ ขณะที่อัตราเงินเฟ้อเดือน ธ.ค. 66 ขึ้นสู่ระดับสูงสุดในรอบสี่เดือนที่ร้อยละ 5.69 แต่ยังคงอยู่ภายในช่วงเป้าหมายร้อยละ 2-6 ของ RBI
อินเดีย
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ 53.1 บ่งชี้การขยายตัวอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17ของภาคบริการ และเป็นการขยายตัวที่มากที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 66เนื่องจากการไหลเข้าของธุรกิจใหม่ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ญี่ปุ่น
ดุลการค้า เดือน ม.ค. 67 เกินดุล 0.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 18ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4) ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -7.8ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10)
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 ซึ่งกลับมาขยายตัวครั้งแรกนับจาก มิ.ย. 65เนื่องจากภาคการผลิตของประเทศมีการปรับปรุงสภาพการดาเนินงานอีกครั้งเมื่อต้นปี 67
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (IndustrialProduction)เดือน ธ.ค. 66ขยายตัวร้อยละ 6.2ต่อปี หรือร้อยละ 0.6จากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ การผลิตภาคอุตสาหกรรมในเกาหลีใต้เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 8.01ตั้งแต่ปี 19ถึง 66
เกาหลีใต้
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&PGlobal)เดือน ม.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 54.7 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11ของกิจกรรมภาคเอกชน
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 66 หดตัวร้อยละ -0.4 ต่อปี ทั้งที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวร้อยละ 2.4ต่อปี เนื่องจากยอดขายที่ลดลงสาหรับห้างสรรพสินค้า มินิมาร์ท และร้านสะดวกซื้อ
สิงคโปร์
GDPไตรมาสที่ 4 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.04 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.94จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่งผลให้ทั้งปี 66เศรษฐกิจอินโดนีเซียขยายตัวที่ร้อยละ 5.05ต่อปี
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ธนาคารกลางออสเตรเลียประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 4.35ต่อปี
ดัชนีฯ PMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 49.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.1จุด ซึ่งเป็นตัวเลขสูงสุดในรอบ 4เดือน ส่งสัญญาณถึงการหดตัวเล็กน้อยในกิจกรรมภาคบริการ
มูลค่าการส่งออก เดือน ธ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -7.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่านาเข้า เดือน ธ.ค. 66 หดตัวที่ร้อยละ -5.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ธ.ค. 66 เกินดุลที่ระดับ 15.39 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 8.81พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ออสเตรเลีย
ยอดจดทะเบียนรถยนต์ใหม่ เดือน ม.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.2 ต่อปี ถือเป็นผลงานที่ดีที่สุดของเดือนนับตั้งแต่ปี 63และเป็นการเติบโตเป็นเดือนที่ 18ติดต่อกัน โดยการเติบโตได้รับแรงหนุนจากตลาดยานพาหนะซึ่งเพิ่มขึ้น
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&PGlobal/CIPSPMI)ภาคการผลิต (final)เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 47 เพิ่มขึ้นจากระดับ 46.2ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลานี้
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.3เพิ่มขึ้นจากระดับ 53.4ในเดือนก่อนหน้า บ่งชี้อัตราการเติบโตที่รวดเร็วที่สุดในกิจกรรมการบริการของอังกฤษในรอบแปดเดือน
ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.4 ต่อปี ชะลอตัวเป็นเดือนที่สองติดต่อกัน เนื่องจากครัวเรือนในอังกฤษยังคงถูกกดดันจากค่าครองชีพ
ดัชนี PMIการก่อสร้าง ของ S&PGlobal/CIPSUKเดือน ม.ค.67 อยู่ที่ 48.8 เพิ่มขึ้นจากระดับ 46.8 ในเดือนก่อนหน้า ชี้ให้เห็นการหดตัวช้าที่สุดในกิจกรรมการก่อสร้างนับตั้งแต่เดือน ส.ค.66แต่ยังคงอยู่ในแดนหดตัวเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ยอดค้าปลีกเดือน ธ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการขยายตัวของยอดขายสินค้าในอุปกรณ์ในครัวเรือน และหมวดสินค้าอื่น ๆ ในร้านค้าเฉพาะทาง เป็นสาคัญ
มาเลเซีย
การส่งออก เดือน ม.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 18.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวอีกครั้งจากเดือน ธ.ค. 66 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.8 ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 19.5 นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 และเป็นการขยายตัวที่มากที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 65อันเนื่องจากการขยายตัวอย่างแข็งแกร่งของยอดส่งออกสินค้าหมวดสารสนเทศ การสื่อสาร และโสตทัศนูปกรณ์ เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ม.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 19.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวจากเดือน ธ.ค. 66 ที่หดตัวที่ร้อยละ -6.5และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะหดตัวที่ร้อยละ -3.2นับเป็นการพลิกกลับมาขยายตัวของการนาเข้าหลังจากหดตัวต่อเนื่องตั้งแต่ ก.ค. 65อันเนื่องจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ม.ค. 67 เกินดุลอยู่ที่ 2.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 11.1พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.79 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.71 และต่ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 2.20 อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มิ.ย. 66อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารและหมวดการขนส่งและการสื่อสาร เป็นสาคัญ
ไต้หวัน
ดัชนี PMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.5จุด สอดคล้องกับคาดการณ์ตลาด
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 66หดตัวร้อยละ -0.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน
สเปน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 43.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 42.1 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม นับเป็นค่าดัชนีที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.ย. 66เนื่องจากยอดคาสั่งซื้อใหม่หดตัวต่าที่สุดในรอบ 7เดือน และผลผลิตส่งสัญญาณหดตัวลงในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ต้นปี 66
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ดัชนีฯ PMIภาคบริการ เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.8จุด
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 96.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 95.8จุด
ยอดค้าปลีก เดือน ธ.ค. 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei225(ญี่ปุ่น) TWSE(ไต้หวัน)และ HengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 8ก.พ. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,388.6จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่5 -8 ก.พ. 67 อยู่ที่45,189.58 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 5 -8ก.พ. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -169.02ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -11 bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่5 -8 ก.พ. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ ?9,024.23ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่5 -8 ก.พ. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -18,500.47 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่8 ก.พ. 67เงินบาทปิดที่ 35.75บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.66จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเปโซและวอน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.37
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง