เศรษฐกิจไทย
Macro Weekly Review
Last updated
1 M ar 2024
FPO
Executive Summary
1 1
? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน ม.ค. 67 หดตัวร้อยละ -2.9 ต่อปี โดยดัชนีหดตัวติดต่อกัน
เป็นเดือนที่ 16 ตามการหดตัวของการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์ และผลิตภัณฑ์
จากปิโตรเลียม เป็นต้น ที่หดตัวร้อยละ -9.3 -16.6 และ -6.5 ต่อปี ตามลาดับ
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน ม.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.0
ต่อปี เนื่องจากการใช้เหล็กในภาคอุตสาหกรรมและภาคก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งราคาเหล็กและ
ผลิตภัณฑ์เหล็กที่ปรับตัวลดลง
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน ม.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 41.5
ต่อปี โดนมีนักท่องเที่ยวจานวน 3.04 ล้านคน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย เกาหลีใต้
รัสเซีย และอินเดีย เป็นสาคัญ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้เป็นผลต่อเนื่องจากการ
ท่องเที่ยวช่วง High Season และปัจจัยฐานต่าเนื่องจากช่วงเดือน ม.ค. 66 เป็นช่วงเริ่มต้นที่รัฐบาลจีน
อนุญาตให้นักท่องเที่ยวชาวจีนเดินทางออกนอกประเทศ
? ปริมาณการจา หน่ายรถยนต์นงั่ ในเดือน ม.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 ต่อปี ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจาก
ความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงปรับตัวดีขึ้น และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่งรวมทั้งอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ใน
ระดับต่า ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดี อย่างไรก็ดี ปัญหา NPL สินเชื่อรถยนต์ที่มี
อัตราการเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 67 หดตัวร้อยละ -26.5 ต่อปี จากความเข้มงวด
ของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้ครัวเรือน และอัตราดอกเบี้ยที่ยังคงอยู่ในระดับสูง
รวมทั้งปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ประกอบการ
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ม.ค. 67 คิดเป็นร้อยละ 62.2 ของ GDP โดยสถานะหนี้สาธารณะของ
ไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยใน
การบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP และหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
Economic Calendar: Feb 2024
2
Monday Tuesday Wednesday Thursday Friday
1 2
TH Pub Debt to GDP (Dec 23) TH C/A (Dec 23)
= 61.34% = 2,107.38 mn.USD
TH Credit Of Depository
Institutions (Dec 23) = 1.5%
TH Deposit Of Depository
Institutions (Dec 23) = 1.4%
TH Gov. Exp (Dec 23) = 0.7%
TH Gov. Revenue (Sep 23)
= 0.7%
TH Budget Bal. (Dec 23)
= - 63,169 mn.THB
5 6 7 8 9
ID GDP Q4/66 = 5.04% TH Liquidity Coverage Ratio
TH Headline Inf. (Jan 24) (Jan 24) = 2.04 (times)
= -1.1 %
TH Core Inf. (Jan 24) = 0.5%
TH CMI (Jan 24) = -1.0%
TH Motorcycle Sales (Jan 24)
= -1.8%
12 13 14 15 16
EAGDP Q4/66 = 0.1% JP GDP Q4/66 = 1.0% MY GDP Q4/66 = 3.0%
TH CCI (Jan 24) = 62.9 SG GDP Q4/66 = 2.2%
GB GDP Q4/66 = -0.2%
19 20 21 22 23
TH GDP Q4/66 = 1.7% TH API (Jan 24) = -4.4% TH TISI (Jan 24) = 90.6 TH Export (Jan 24) = 10.0%
TH Cement Sales (Jan 24) TH Agri Price (Jan 24) = 4.0% TH Import (Jan 24) = 2.6 %
= - 7.2%
26 27 28 29 1
TH Pass.car Sales (Jan 24) TH MPI (Jan 24) = -2.9% FR GDP Q4/66 = 0.7% TH Pub Debt to GDP (Jan 24)
= 2.4% TH Iron Sales (Jan 24) = 1.0% TW GDP Q4/66 = 4.9% = 62.23%
TH Comm.car Sales (Jan 24) TH C/A (Jan 24)
= - 26.5% = -190.51 mn.USD
TH Tourism Arrival (Jan 24) TH Credit Of Depository
= 41.5% Institutions (Jan 24) = 1.5%
TH Deposit Of Depository
Institutions (Jan 24) = 2.1%
3
3
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ม.ค. 6767ขยายตัวที่ร้อยละ 1.01.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่หดตัวที่ร้อยละ --5.85.8เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ม.ค. 6767ขยายตัวร้อยละ 1.01.0โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่เพิ่มขึ้นของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กลวด เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่ขยายตัวร้อยละ 9.39.38.88.8และ 7.77.7ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการใช้เหล็กในภาคอุตสาหกรรมและภาคก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งราคาเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กที่ปรับตัวลดลงตามปริมาณเหล็กส่วนเกินในตลาดโลก
ที่มา : : สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI)MPI)เดือน ม.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -22.99ต่อปี
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
ยอดจาหน่ายเหล็ก
7.8
7.8
-
-3.53.5
9.2
9.2
-
-4.24.2
1.0
1.0
1.0
1.0
%mom_sa,
%mom_sa, %qoq_sa%qoq_sa
16.5
16.5
-
-8.38.3
6.9
6.9
-
-
-5.85.8
Manufacturing Production Index :
Manufacturing Production Index : MPIMPI
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม
โดยดัชนีหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 166ตามการหดตัวของการผลิตสินค้าสาคัญ อาทิ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์ และผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียม เป็นต้น ที่หดตัวร้อยละ --9..3,,-16.6,,และ -6.5 ต่อปี ตามลาดับ* โดยการผลิตรถยนต์มีแนวโน้มชะลอตัว ((โดยเฉพาะในกลุ่มรถยนต์เชิงพาณิชย์ รถกระบะ 1 ตัน))เนื่องจากความต้องการในประเทศลดลงจากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูง และการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินทาได้ยากขึ้น ขณะที่การผลิตคอมพิวเตอร์ยังคงชะลอตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์ทั้งในและนอกประเทศที่ลดลง สาหรับการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมหดตัวจากการปิดซ่อมบารุงโรงกลั่นบางแห่ง (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI MPI ในระบบ TSIC TSIC 22หลัก))
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
MPI
MPI
-55.3
-22.99
-44.77
-
-33.88
-
-2.92.9
-
-2.92.9
%mom_sa,
%mom_sa, %qoq_sa%qoq_sa
-00.22
-11.33
-2.99
-
2.4
2.4
1.0
1.0
-
-5.85.8
-40.0
-40.0
-20.0
-20.0
0.0
0.0
20.0
20.0
40.0
40.0
% YoY
% YoY
% MoMSA
% MoMSA
96.6
96.6
80.0
80.0
85.0
85.0
90.0
90.0
95.0
95.0
100.0
100.0
105.0
105.0
110.0
110.0
Jan-21
Jan-21
Apr-21
Apr-Jul-21
Jul-Oct-21
Oct-Jan-22
22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
23
Apr-23
Jul-23
Oct-23
Jan-24
24
(
(Index_SaIndex_SaJan21 = 100%)Jan21 = 100%)
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?เดือนมกราคม 2567 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับแรงสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากการท่องเที่ยวช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศยังขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ม.ค. 67 มีจานวน 3.04 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 41.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และชะลอลงจากเดือนก่อนเล็กน้อย โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย เกาหลีใต้ รัสเซีย และอินเดีย เป็นสาคัญ โดยเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 13.0 ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่ยังขยายตัวได้เป็นผลต่อเนื่องจากการท่องเที่ยวช่วง HighHighSeasonSeasonและปัจจัยฐานต่าเนื่องจากช่วงเดือน ม.ค. 66 เป็นช่วงเริ่มต้นที่รัฐบาลจีนอนุญาตให้นักท่องเที่ยวชาวจีนเดินทางออกนอกประเทศ ขณะเดียวกันรัฐบาลก็ได้มีการยกเว้นวีซ่าให้กับนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยมีจานวน 23.4ล้านคน ขยายตัวร้อยละ 6.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงล็ดน้อยเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า โดยจานวนผู้เยี่ยมเยือนที่ยังอยู่ในระกับสูงเป็นผลมาจากการเดินทางท่องเที่ยวช่วงเทศการปีใหม่ วันเด็กแห่งชาติ และ EventsEventsอื่น ๆ ขณะที่รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยอยู่ที่ 80,192ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 8.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากจานวนผู้เยี่ยมเยือนที่ลดลง และการใช้จ่ายต่อคนของนักท่องเที่ยวที่ลดลง จากเดือนก่อนโดยอยู่ที่ 3,424 บาท/คน/ทริป ขยายตัวที่ ร้อยละ 1.7ต่อปี เนื่องจากการใช้จ่ายต่อคนของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังอยู่ในระดับต่าจากสภาพเศรษฐกิจที่ยังฟื้นตัวได้ไม่เต็มที่
ที่มา : : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2024
2024
Q
Q1
Q
Q2
Q3
Q3
Q
Q4
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ(%(%yoyyoy))
1,237.4
311.4
97.9
97.9
49.1
49.1
154.4
41.5
41.5
%mom_sa, %qoq_sa
%mom_sa, %qoq_sa
-10.7
127.9
-
-74.6
192.1
192.1
-
13.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%(%yoyyoy))
36.0
36.0
24.9
18.2
18.2
1
14.3
22.7
6.8
6.8
6.8
6.8
%mom_sa, %qoq_sa
%mom_sa, %qoq_sa
10.2
30.9
1.3
-18.2
-
-
-0.10.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%(%yoyyoy))
45.7
36.8
29.0
26.4
33.9
8.6
8.6
8.6
8.6
%mom_sa, %qoq_sa
%mom_sa, %qoq_sa
8.2
33.0
5.2
-12.7
-
-
-5.35.3
อัตราการเข้าพักเฉลี่ย (%)%)
68.1
66.9
66.2
73.6
73.6
77.4
77.4
4
4
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ม.ค.67 มีจานวน 23,23,412คัน ปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 99.4
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลยังคงขยายตัวได้ต่อเนื่องในช่วงเดือนที่ผ่านมา โดยได้รับปัจจัยสนับสนุน จากความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังคงปรับตัวดีขึ้นต่อเนื่อง กอปรกับตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่งและอัตราเงินเฟ้อที่ทรงตัวอยู่ในระดับต่าช่วยลดแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชน ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดี อย่างไรก็ดี ปัญหา NPLNPLสินเชื่อรถยนต์ที่มีอัตราการเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์และอัตราดอกเบี้ยที่ยังค่อนข้างสูง ยังสร้างแรงกดดันการอุปโภคบริโภคของประชาชนต่อไป
ที่มา : : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 6767มีจานวน 31,40231,402คัน หดตัวที่ร้อยละ --26.526.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ --43.543.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ม.ค. 6767ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 1414แต่เพิ่มจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.30.3มาจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อจากปัญหาหนี้ครัวเรือน และอัตราดอกเบี้ยที่ยังคงอยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจที่ชะลอตัวส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้ประกอบการ
5
5
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
ยอดขายรถยนต์ เชิงพาณิชย์
-
-22.922.9
-
-23.323.3
-
-27.427.4
-
-17.317.3
-
-26.526.5
-
-26.526.5
%mom_sa,
%mom_sa, %qoq_sa%qoq_sa
-
-8.28.2
-
-11.811.8
-
-5.45.4
-
0.3
0.3
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q3
Q3
Q4
Q4
Dec
Dec
ทั้งปี
Jan
Jan
YTD
YTD
ยอดขายรถยนต์นั่ง
10.5
13.0
13.0
5.8
5.8
10.3
10.3
2.4
2.4
2.4
%mom_sa,
%mom_sa,%qoq_sa%qoq_sa
-
-5.15.1
-
-9.79.7
-
-9.99.9
-
9.4
-
-
113.10
113.10
40
40
60
60
80
80
100
100
120
120
140
140
160
160
180
180
Jan-20
Jan-20
Jul-20
Jul-20
Jan-21
Jan-21
Jul-21
Jul-21
Jan-22
Jan-22
Jul-22
Jul-22
Jan-23
Jan-23
Jul-23
Jul-23
Jan-24
Jan-24
Index_sa (
Index_sa (20212021==100100))
Passengercar_SA
Passengercar_SA
65.9
65.9
40.0
40.0
50.0
50.0
60.0
60.0
70.0
70.0
80.0
80.0
90.0
90.0
100.0
100.0
110.0
110.0
120.0
120.0
Sep-21
Sep-21
Nov-21
Nov-Jan-22
Jan-22
Mar-22
Mar-May-22
May-Jul-22
Jul-Sep-22
Nov-22
Jan-23
23
Mar-23
May-23
Jul-23
Sep-23
Nov-23
Jan-24
24
Index_sa
Index_sa((2019 2019 = = 100100))
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
6
6
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ม.ค. 67 มีจานวนทั้งสิ้น 11..22ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 62.2 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 107,012.5 ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 84.55ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.77ของยอดหนี้สาธารณะ
ที่มา ::สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
FY
FY
FY
FY
62.23
62.23%%
0
0
2000000
2000000
4000000
4000000
6000000
6000000
8000000
8000000
10000000
10000000
12000000
12000000
Jan
Jan20232023
Feb
Feb20232023
Mar
Mar20232023
Apr
Apr20232023
May
May20232023
Jun
Jun20232023
Jul
Jul20232023
Aug
Aug20232023
Sep
Sep20232023
Oct
Oct20242024
Nov
Nov20242024
Dec
Dec20242024
Jan
Jan20242024
50%
50%
55%
55%
60%
60%
65%
65%
70%
70%
Public Debt Outstanding
Public Debt Outstanding
% of GDP
% of GDP
2023
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ม.ค. 677ขาดดุลที่ --190.51190.51ล้านดอลลาร์สหรัฐหลังเกินดุลในเดือนก่อนหน้าที่ 22,107.38,107.38ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน ม.ค. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่909.44909.44ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP)BOP)ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่--1,099.951,099.95ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677ขาดดุลรวม --190.51190.51ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Current Account
Current Account
7
7
ที่มา ::ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ม.ค. 677มียอดคงค้าง 20.5520.55ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ม.ค. 677มียอดคงค้าง 24.24.988ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือขยายตัวที่ร้อยละ 0.160.16จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.20.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 2.22จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.6161จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 1.51.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อนและเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 3.99จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
Credit Of Depository Institutions
Credit Of Depository Institutions
Deposit Of Depository Institutions
Deposit Of Depository Institutions
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
GDP
GDPUSUSไตรมาส 4 ปี 66 (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน (สูงกว่ารอบก่อนที่ร้อยละ 2.5) ซึ่งเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 เมื่อคานวนแบบ annualized rateannualized rate
ดัชนีราคา PCE (Core PCE Price Index) PCE (Core PCE Price Index) เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากร้อยละ 2.9ในเดือน ธ.ค. 66
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (18 -24 ก.พ. 67) อยู่ที่ 2.15 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.02 แสนราย และมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.10 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (fourfourweekweekmoving moving average)average)ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.13แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (Final)Final)เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ -15.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -16.1 จุด เนื่องจากผู้บริโภคมีมุมมองเชิงลบน้อยลงเกี่ยวกับสถานการณ์ทางการเงินในอดีตของครัวเรือนและมีความตั้งใจที่จะซื้อสินค้าจานวนมาก ขณะที่ มีความคาดหวังที่ลดลงเกี่ยวกับเศรษฐกิจโดยรวม
ยูโรโซน
ดัชนี PMI PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) Caixin) เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.8 จุด โดยดัชนี PMIPMIสูงกว่าระดับ 50.0เป็นเดือนที่ 4ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง
จีน
ผลผลิตโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure outputInfrastructure output) เดือน ม.ค.67 ขยายตัวร้อยละ 3.6 ต่อปี ซึ่งเป็นการเติบโตที่น้อยที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค.65 เป็นต้นมา โดยการผลิตผลิตภัณฑ์โรงกลั่นหดตัวเป็นครั้งแรกในรอบเก้าเดือน รวมถึงการชะลอตัวของการผลิตปุ๋ย เหล็ก ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ
GDP
GDP (Annual Growth RateAnnual Growth Rate) ไตรมาส 4 ปี 66 ขยายตัวร้อยละ 8.4 ต่อปี นับเป็นการขยายตัวมากที่สุดนับจากไตรมาส 2 ปี 65 เป็นต้นมา ส่งผลให้ GDP GDP ทั้งปี 66 ขยายตัวร้อยละ 7.7 ต่อปี
อินเดีย
8
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI)(PMI)เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 49.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.0 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่าที่สุดในรอบ 18 เดือน
มาเลเซีย
สหราชอาณาจักร
ยอดผลิตรถยนต์ เดือน ม.ค.67 อยู่ที่ 82,,997 หน่วย ขยายตัวร้อยละ 21.0 ต่อปี นับเป็นการเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ท่ามกลางอุปสงค์ที่แข็งแกร่งและการผ่อนคลายจากภาวการณ์หยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน ทั้งนี้ การผลิตรถยนต์ไฟฟ้าในเดือนก่อนหน้า ขยายตัวร้อยละ 4.5 เป็น 29,,590 คัน คิดเป็นร้อยละ 35.7 ของการผลิตทั้งหมด
สิงคโปร์
การผลิตภาคอุตสาหกรรม (manufacturing productionmanufacturing production) เดือน ม.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.1 ต่อปี หรือหดตัวร้อยละ -5.7 ต่อเดือน
ญี่ปุ่น
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ต่อปี ต่าสุดนับจาก มี.ค.65 65 เป็นต้นมา จากราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นในอัตราต่าที่สุดในรอบ 116 เดือน ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือนดังกล่าว อยู่ที่ร้อยละ 2.2.0 ต่าสุดนับจาก มี.ค. 6565เช่นกัน
ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 667 ขยายตัวร้อยละ 2.3 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.4 ต่อปี อย่างไรก็ดี การค้าปลีกยังคงขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 23
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production)Industrial Production)(เบื้องต้น) ) เดือน ม.ค. 66 หดตัวร้อยละ --1.5 ต่อปีทั้งนี้ การผลิตภาคอุตสาหกรรมในญี่ปุ่นเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2497ถึง 2567อยู่ที่ร้อยละ 4.6
อัตราการว่างงาน เดือน ม.ค.67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 เท่ากับเดือนก่อนหน้า นับเป็นอัตราที่ต่าที่สุดนับจาก ม.ค.65 เป็นต้นมา
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (JibunJibunBank PMI) Bank PMI) ภาคการผลิต (finalfinal) เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ 47.2ลดลงจากระดับ 48.0 ในเดือนก่อนหน้า จากการหดตัวของกิจกรรมโรงงาน เป็นเดือนที่ 9 ติดต่อกัน
9
9
เวียดนาม
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.1และนับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 27ติดต่อกัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.4นับเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 67
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -6.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาหดตัวอีกครั้งหลังจากขยายตัวระดับสูงในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 18.9เนื่องจากในเดือน ก.พ. 67เวียดนามมีวันหยุดยาวเทศกาลตรุษจีน ขณะที่ ในปี 66วันหยุดยาวเทศกาลตรุษจีนของเวียดนามตรงกับเดือน ม.ค.
มูลค่าการส่งออก เดือน ก.พ. 67 หดตัวร้อยละ -5.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน พลิกกลับมาชะลอตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 46.0
มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.พ. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 34.4
ดุลการค้า เดือน ก.พ. 67 เกินดุลอยู่ที่ 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 3.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.3 จุด โดยดัชนี PMI PMI สูงกว่าระดับ 50.0 เป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ออสเตรเลีย
ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 6767ขยายตัวที่ร้อยละ 1.11.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.80.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน มีปัจจัยสนับสนุนการจากบริโภคในช่วง BlackBlackFridayFridayโดยเป็นการขยายตัวในยอดขายปลีกเสื้อผ้า รองเท้า เครื่องประดับ และของใช้ในครัวเรือน เป็นสาคัญ
10
10
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดุลการค้า เดือน ก.พ. 67 เกินดุล 4.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 4.8 ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5) จากการฟื้นตัวของการส่งออกเซมิคอนดัคเตอร์ ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -13.1 ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12)
เกาหลีใต้
ไต้หวัน
GDPไตรมาสที่ 4 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน (ลดลงจากตัวเลขประมาณการณ์เบื้องต้นที่ร้อยละ 5.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน) ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสที่ 3 ปี 66 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน (ลดลงจากตัวเลข ประมาณการณ์เบื้องต้นที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน) ตัวเลข GDPGDPไตรมาสนี้เป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3 ซึ่งมากกว่าคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ ร้อยละ 5.1 และเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 64 ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับ ไตรมาสที่แล้ว (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) GDPGDPไตรมาสนี้ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3 ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสที่แล้วที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 โดยเศรษฐกิจไต้หวันได้รับแรงหนุนจากการส่งออกที่ขยายตัวดีขึ้นและการนาเข้าที่หดตัวชะลอลง ซึ่งส่งผลให้ภาคการค้าระหว่างประเทศสุทธิขยายตัวดีขึ้น ทาให้ตลอดทั้งปี 66 เศรษฐกิจไต้หวันขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 ซึ่งเป็นการขยายตัวที่ต่าที่สุดในรอบ 14 ปี
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI)(PMI)เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 48.6 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.8 จุด ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยดัชนีหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 21 เนื่องจากยอดคาสั่งซื้อใหม่และผลผลิตของภาคธุรกิจยังคงหดตัวไปตามการใช้จ่ายของลูกค้า
อัตราการว่างงาน เดือน ม.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.39 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือน ก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.40 ของกาลังแรงงานรวม
ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ม.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.0 16.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวหลังจากหดตัวที่ร้อยละ -3.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนในเดือนที่แล้ว ตัวเลขดังกล่าวแสดงถึงการขยายตัวของกิจกรรมอุตสาหกรรมครั้งแรกนับตั้งแต่ พ.ค. 65 ตัวเลขดังกล่าวได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการพลิกกลับมาขยายตัวของผลผลิตอุตสาหกรรมในภาคอุตสาหกรรมเหมืองแร่และเหมืองหิน และภาคการผลิต เป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีกเดือน ม.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัว ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 และเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 65 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของยอดขายสินค้าในหมวดเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย และหมวดสินค้าวัฒนธรรมและสันทนาการ เป็นสาคัญ
1
111
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.4และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.7
สเปน
ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -1.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวอยู่ที่ร้อยละ -0.6
อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.8ของกาลังแรงงานรวม และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.6
เยอรมนี
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ม.ค. 6767อยู่ที่ระดับ 97.097.0จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 96.4 96.4 จุด
ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน ธ.ค. 6666หดตัวที่ร้อยละ --0.10.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก้อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ --3.43.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.12.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า จากความต้องการของสินค้าอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นทั้งในและต่างประเทศ
อิตาลี
ฝรั่งเศส
GDP
GDPไตรมาสที่ 4 ปี 66 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 ทาให้ตลอดทั้งปี 66 เศรษฐกิจฝรั่งเศสขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 ขยายตัวชะลอลงจากปี 65 ที่ขยายตัวที่ร้อยละ2.52.5
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.1 แต่ก็ยังสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 65
12
12
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นIDXIDX(อินโดนีเซีย)และ STISTI((สิงคโปร์))เป็นต้น เมื่อวันที่ 299ก.พ. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,3701,370.667จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่2727-299ก.พ. 667 อยู่ที่61,549.761,549.7ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 2727-299ก.พ. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ --5,893.295,893.29ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 112 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 22bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1414ปี ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลง --11bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 44ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 11.333 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่2727-299ก.พ. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ --1,587.161,587.16ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่299ก.พ. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-24,340.73,340.73ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่299ก.พ. 67เงินบาทปิดที่ 35.922บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ --0.1010จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร เปโซดอลลาร์ไต้หวันดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน ริงกิตและวอน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ --0.110.11
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
Foreign
Foreign EExchangexchange
29
29--FebFeb--2424
1w %
1w %chgchg
1m %
1m %chgchg
YTD %
YTD %chgchg
Avg 22 %
Avg 22 %chgchg
Avg YTD
Avg YTD
THB/USD
THB/USD
35.92
35.92
-
-0.100.10
-
-0.950.95
-
-4.854.85
-
-2.432.43
34.92
34.92
JPY/USD
JPY/USD
149.68
149.68
0.30
0.30
-
-1.271.27
-
-5.865.86
-
-13.7213.72
141.64
141.64
USD/EUR
USD/EUR
1.08
1.08
-
-0.170.17
0.03
0.03
-
-0.850.85
2.77
2.77
1.08
1.08
MYR/USD
MYR/USD
4.76
4.76
0.62
0.62
-
-0.670.67
-
-2.792.79
-
-8.248.24
4.59
4.59
PHP/USD
PHP/USD
56.19
56.19
-
-0.330.33
0.39
0.39
-
-1.171.17
-
-3.133.13
55.69
55.69
KRW/USD
KRW/USD
1,334.00
1,334.00
0.07
0.07
0.19
0.19
-
-2.672.67
-
-3.253.25
1,308.55
1,308.55
NTD/USD
NTD/USD
31.58
31.58
-
-0.180.18
-
-1.041.04
-
-1.831.83
-
-5.785.78
31.21
31.21
SGD/USD
SGD/USD
1.34
1.34
-
-0.070.07
-
-0.260.26
-
-1.371.37
2.49
2.49
1.34
1.34
CNY/USD
CNY/USD
7.10
7.10
-
-0.0250.025
0.09
0.09
-
-0.050.05
-
-5.615.61
7.05
7.05
NEER
NEER
109.69
109.69
-
-0.110.11
-
-0.700.70
-
-3.023.02
1.63
1.63
111.24
111.24
ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ
13
13
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC ธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยรวมรวบโดย สศค.
Economic Indicators
Economic Indicators
FY6
FY66
FY
FY6666
FY67
FY67
FYTD
FYTD
Q2
Q2
Q3
Q3
Q4
Q4
พ.ย.
ธ.ค.
การคลัง
(พันล้านบาท)
รายได้สุทธิรัฐบาล (หลังหักจัดสรร)
2,666.8
520.0.9
795.1
711.0
181.2
213.9
623.4
%YoY
%YoY
5.3
-1.77
3.2
5.8
-8.4
0.7
-2.6
-รายได้จัดเก็บ 3 กรม
2,815.4
618.9
819.5
775.7
198.8
218.4
612.1
%YoY
%YoY
1.3
1.6
-0.4
0.1
4.5
-1.9
1.8
รายจ่ายรวม
3,262.4
754.3
770.1
770.1
696.9
214.0
282.6
963.8
%YoY
%YoY
3.7
13.6
8.3
8.3
-2.1
-21.6
0.7
-7.4
-รายจ่ายประจา
2,610.2
600.5
625.3
625.3
525.7
181.7
254.5
859.1
%YoY
%YoY
3.7
16.5
9.5
9.5
-3.4
-11.4
9.4
0.0
-รายจ่ายลงทุน
478.2
109.2
116.9
116.9
128.6
11.3
10.8
51.1
%YoY
%YoY
15.0
20.0
7.8
7.8
7.7
-74.4
-59.4
-58.6
ดุลงบประมาณ
-598.4
-236.1
29.4
29.4
9.9
-33.8
-63.2
-341.1
ปี 666
Q3/66
Q3/66
Q4/66
Q4/66
พ.ย.6666
ธ.ค.6666
ม.ค.6767
YTD
YTD
Real GDP
Real GDP
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%yoy)(%yoy)
1.9
1.4
1.7
-
-
-
-
-
-
-
-
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%(%qoq_saqoq_sa))
-
-
0.6
-0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
อุปทาน
(%y
(%y--oo--y)y)
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร
-0.4
-
-0.5
-
-2.2.3
-
-2.6
-
-3.0
-
-4.4
-
-4.4
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร
-2..0
-1.6
0.1
0.1
-
-1.0
0.2
0.2
4.0
4.0
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง
-
-3..2
-2.5
-
-1.1.9
-
-3.0
-
-1.1.9
0.6
0.6
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
-3.8
-5.3
-
-2.9
-
-1.5
-4.7
-
-2.9
-
-2.9
-อาหาร (สัดส่วน 16.6.4%)
-
-2.4.4
-11.44
-
-55.33
-
-4.84.8
-
-6.26.2
0.9
0.9
0.9
0.9
-คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ (8.9%)
-
-18.918.9
-2222.88
-
-188.99
-
-15.015.0
-
-16.516.5
-
-16.616.6
-
-16.616.6
-ยางและพลาสติก (สัดส่วน 8.8%)
-
-2.42.4
-55.22
1
1.77
3.7
3.7
0.4
0.4
3.7
3.7
3.7
3.7
-ยานยนต์ (สัดส่วน 13.8%)
0.8
0.8
-33.77
-
-100.11
-
-10.110.1
-
-16.616.6
-
-9.39.3
-
-9.39.3
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรม (ระดับ)
922.6
91.2
89.4
90.9
90.9
88.8
90.6
90.6
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
154.4
154.4
97.9
49.1
49.1
53.22
45.5
45.5
41.5
41.5
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย
22.72.7
18.2
14.3
14.3
13.5
12.5
12.5
6.8
6.8
การบริโภคเอกชน
(%y
(%y--oo--y)y)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาที่แท้จริง
-1.7
-6.4
1.9
3.2
-
-3.43.4
-
-
-
-
-
-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บในประเทศ
4.4
6.0
5.9
5.9
5.0
4.5
4.5
-
-
-
-
-
-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้า
-8.4
-18.7
-2.5
1.5
-
-13.313.3
-
-
-
-
ยอดจาหน่ายรถยนต์นั่ง
10.3
10.3
10.5
10.5
13.
13.00
21.2
5.8
5.8
2.4
2.4
ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่
4.6
0.3
-
-2.32.3
-
-3.63.6
-
-7.07.0
-1.8
-1.8
ปริมาณนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูป USDUSD
-
-0.70.7
-
-0.10.1
2.5
2.5
7.9
7.9
-
-9.19.1
-
-1.31.3
-
-1.31.3
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
56.7
57.1
57.1
61.0
60.9
62.0
62.9
62.9
ปี 6666
Q3/66
Q3/66
Q
Q44//6666
พ.ย.6666
ธ.ค.6666
ม.ค.6767
YTD
YTD
การลงทุนเอกชน
(%y
(%y--oo--y)y)
ปริมาณนาเข้าสินค้าทุนในรูป USDUSD
3.8
3.8
3.6
3.6
16.5
16.5
24.6
24.6
1.7
1.7
11.8
11.8
11.8
11.8
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์
-
-17.317.3
-
-22.922.9
-
-23.323.3
-
-22.822.8
-
-27.427.4
-
-26.526.5
-
-26.526.5
-รถกระบะขนาด 1 ตัน
-
-28.728.7
-
-35.435.4
-
-39.939.9
-
-39.139.1
-
-44.544.5
-
-43.543.5
-
-43.543.5
ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์
3.8
3.8
0.4
0.4
-
-17.417.4
-
-1.21.2
-
-41.241.2
-
-
-
-
ยอดขายปูนซีเมนต์
-
-2.42.4
5.0
5.0
-
-0.40.4
-
-0.30.3
-
-4.44.4
-
-7.27.2
-
-7.27.2
ยอดขายเหล็ก
-
-9.99.9
3.1
3.1
-
-10.610.6
-
-13.813.8
0.5
0.5
1.0
1.0
1.0
1.0
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง
0.1
0.1
-
-0.20.2
-
-0.20.2
-
-0.30.3
-
-0.40.4
-
-1.01.0
-
-1.01.0
การค้าระหว่างประเทศ
(%y
(%y--oo--y)y)
มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูป USDUSD
-
-1.01.0
-
-0.50.5
5.8
5.8
4.9
4.9
4.7
4.7
10.0
10.0
10.0
10.0
-
-รถยนต์และส่วนประกอบ (สัดส่วน 10.9%)
9.0
9.0
10.5
10.5
0.9
0.9
-
-9.79.7
4.3
4.3
-
-4.74.7
-
-4.74.7
-
-เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ (สัดส่วน 6.3%)
-
-13.913.9
-
-25.125.1
3.1
3.1
10.3
10.3
2.5
2.5
32.2
32.2
32.2
32.2
-
-อัญมณีและเครื่องประดับ(สัดส่วน 5.2%)
-
-2.22.2
1.3
1.3
32.6
32.6
10.2
10.2
71.1
71.1
59.1
59.1
59.1
59.1
-
-ผลิตภัณฑ์ยาง(สัดส่วน 4.7%)
-
-4.44.4
-
-5.45.4
1.6
1.6
0.7
0.7
3.9
3.9
3.7
3.7
3.7
3.7
-
-เม็ดพลาสติก (สัดส่วน 3.1%)
-
-16.916.9
-
-10.410.4
-
-2.92.9
-
-10.710.7
0.0
0.0
-
-0.30.3
-
-0.30.3
-
-น้ามันสาเร็จรูป (สัดส่วน 3.6%)
0.8
0.8
-
-1.51.5
54.2
54.2
55.4
55.4
42.6
42.6
5.3
5.3
5.3
5.3
-
-เคมีภัณฑ์ (สัดส่วน 2.8%)
-
-16.016.0
-
-20.220.2
-
-6.06.0
-
-0.60.6
-
-6.56.5
-
-1.61.6
-
-1.61.6
-
-แผงวงจรไฟฟ้า (สัดส่วน 3.4%)
4.1
4.1
16.4
16.4
-
-2.82.8
-
-6.66.6
3.1
3.1
-
-1.91.9
-
-1.91.9
-สินค้าเกษตร (สัดส่วน 9.9.4%%)
0.2
0.2
4.1
4.1
3.7
3.7
7.7
7.7
-
-8.38.3
14.0
14.0
14.0
14.0
-สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร (สัดส่วน 7.97.9%%)
-
-1.71.7
-
-5.25.2
3.7
3.7
1.7
1.7
3.6
3.6
3.8
3.8
3.8
3.8
ราคาส่งออกสินค้า
1.2
1.2
1.1
1.1
1.4
1.4
1.3
1.3
1.4
1.4
-
-
ปริมาณส่งออกสินค้า
-
-2.12.1
-
-1.61.6
4.4
4.4
3.5
3.5
3.2
3.2
-
-
มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปUSDUSD
-
-3.83.8
-
-10.710.7
5.8
5.8
10.1
10.1
-
-3.13.1
2.6
2.6
2.6
2.6
-วัตถุดิบ (สัดส่วน 39.2%)
-
-9.79.7
-
-18.418.4
-
-0.60.6
0.2
0.2
-
-5.95.9
10.4
10.4
10.4
10.4
-ทุนและเครื่องจักร (สัดส่วน 224.0%)
4.2
4.2
3.2
3.2
15.7
15.7
23.9
23.9
1.0
1.0
10.2
10.2
10.2
10.2
-อุปโภคบริโภค (สัดส่วน 11.4%)
1.5
1.5
1.2
1.2
4.1
4.1
9.6
9.6
-
-7.37.3
-
-0.10.1
-
-0.10.1
-สินแร่และเชื้อเพลิง (สัดส่วน 18.5%)
-
-10.310.3
-
-25.225.2
4.7
4.7
13.0
13.0
-
-2.22.2
-
-15.715.7
-
-15.715.7
ราคานาเข้าสินค้า
-
-0.80.8
-
-1.71.7
-
-0.50.5
-
-0.60.6
-
-0.70.7
-
-
-
-
ปริมาณนาเข้าสินค้า
-
-2.92.9
-
-9.29.2
6.3
6.3
10.8
10.8
-
-2.32.3
-
-
การเงิน
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (%)
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR MLR ธนาคารพาณิชย์ ((เฉลี่ย))(%)
7.17
6.95
6.95
7.17
7.17
7.17
7.17
7.17
7.17
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนธนาคารพาณิชย์ ((เฉลี่ย))(%)
1.65
1.48
1.48
1.65
1.65
1.65
1.65
1.65
1.65
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (%yy--oo--yy)
1.5
1.0
1.0
1.5
1.1
1.1
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
อัตราการขยายตัวของเงินฝาก (%yy--oo--yy)
1.4
1.6
1.6
1.4
0.9
0.9
1.4
2.1
2.1
2.1
2.1
เสถียรภาพเศรษฐกิจ
ดุลการค้าตามระบบกรมศุลฯ (พันล้าน USD)USD)
-
-
1.6
1.6
-
0.9
0.9
-
-
-
-
-
ดุลบัญชีเดินสะพัด ((พันล้านUSD)USD)
6.57
2.60
2.60
1.52
-
-1.241.24
2.10
-
-1.901.90
-1.901.90
ทุนสารองระหว่างประเทศ(พันล้าน USDUSD)
224.4
211.7
211.7
224.4
219.0
219.0
2
224.4
221.6
2
222.4*4*
อัตราการว่างงาน (%)
1.0
1.0
1.0
1.0
0.8
0.8
0.8
0.8
0.8
0.8
-
-
-
-
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป(%y(%y--oo--y)y)
1.2
1.2
0.5
-
-0.50.5
-
-0.40.4
-
-0.80.8
-1.1
-1.1
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%y(%y--oo--y)y)
1.3
1.3
0.8
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
0.6
0.5
0.5
หนี้สาธารณะต่อ GDP (%)GDP (%)
60.95
62.44
61.85
62.22
61.85
62.23
62.23
*ข้อมูลทุนสารองระหว่างประเทศ วันที่ 23 ก.พ. 67 โดยฐานะ Forward Forward สุทธิอยู่ที 29.53พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
Economic Indicators
Economic Indicators
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
พ.ย.66
ธ.ค.66
ม.ค.67
YTD
YTD
สหรัฐฯ
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.9
2.9
3.1
3.1
-
-
-
-
-
-
2.5
2.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.2
1.2
0.8
0.8
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
47.1
47.1
47.6
47.6
46.9
46.9
46.6
46.6
47.1
47.1
49.1
49.1
49.1
49.1
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-1.91.9
-
-5.75.7
-
-1.31.3
-
-2.62.6
-
-0.20.2
-
-
-
-1.91.9
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.94.9
-
-5.75.7
-
-1.31.3
-
-0.10.1
-
-2.12.1
-
-
-
-4.94.9
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.1
4.1
3.5
3.5
3.2
3.2
3.1
3.1
3.4
3.4
3.1
3.1
3.1
3.1
-การจ้างงานนอกภาคเกษตร (พันตาแหน่ง)
3,056
3,056
640
640
680
680
182
182
333
333
353
353
353
353
-ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
105.4
105.4
109.0
109.0
102.7
102.7
101.0
101.0
108.0
108.0
110.9
110.9
110.9
110.9
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
3.2
3.2
3.0
3.0
3.3
3.3
3.9
3.9
3.7
3.7
2.0
2.0
2.0
2.0
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Effective Fed Fund RateEffective Fed Fund Rate)
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
ยูโรโซน
(EZ
(EZ119))
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.5
0.5
-
-
0.1
0.1
-
-
-
-
-
-
0.5
0.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.10.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
45.0
45.0
43.2
43.2
43.9
43.9
44.2
44.2
44.4
44.4
46.6
46.6
46.6
46.6
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-1.21.2
-
-5.45.4
-
-5.35.3
-
-5.05.0
-
-8.88.8
-
-
-
-1.21.2
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-13.513.5
-
-22.222.2
-
-17.317.3
-
-16.916.9
-
-18.718.7
-
-
-
-13.513.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HICPHICP) (%yoyyoy)
5.4
5.4
5.0
5.0
2.7
2.7
2.4
2.4
2.9
2.9
2.8
2.8
2.8
2.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-1.71.7
-
-1.61.6
-
-0.70.7
-
-1.81.8
-
-1.71.7
-
-
-
-1.71.7
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RefinancingRefinancing)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
ญี่ปุ่น
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.9
1.9
1.7
1.7
1.0
1.0
-
-
-
-
-
-
1.9
1.9
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.80.8
-
-0.10.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
49.0
49.0
49.2
49.2
48.3
48.3
48.3
48.3
47.9
47.9
48.0
48.0
48.0
48.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
2.8
2.8
1.1
1.1
3.7
3.7
-
-0.20.2
9.7
9.7
11.9
11.9
11.9
11.9
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.07.0
-
-16.116.1
-
-10.510.5
-
-11.811.8
-
-6.96.9
-
-9.69.6
-
-9.69.6
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.3
3.3
3.1
3.1
2.9
2.9
2.9
2.9
2.6
2.6
2.1
2.1
2.1
2.1
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
5.6
5.6
6.7
6.7
3.9
3.9
5.9
5.9
5.6
5.6
2.3
2.3
2.3
2.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight CallOvernight Call)
-
-0.10.1
-
-0.10.1
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
จีน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.2
5.2
4.9
4.9
5.2
5.2
-
-
-
-
-
-
5.2
5.2
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.5
1.5
1.0
1.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.3
50.3
50.3
50.3
50.3
50.3
50.7
50.7
50.8
50.8
50.8
50.8
50.8
50.8
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.64.6
-
-9.99.9
-
-1.21.2
0.7
0.7
2.3
2.3
-
-
-
-4.64.6
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-5.55.5
-
-8.58.5
0.8
0.8
-
-0.70.7
0.2
0.2
-
-
-
-5.55.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
0.2
0.2
-
-0.10.1
-
-0.330.33
-
-0.50.5
-
-0.30.3
-
-0.80.8
-
-2.82.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
8.0
8.0
4.2
4.2
8.3
8.3
8.0
8.0
8.0
8.0
-
-
8.0
8.0
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Policy ratePolicy rate)
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
ฮ่องกง
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
3.2
3.2
4.1
4.1
4.3
4.3
-
-
-
-
-
-
3.2
3.2
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.2
0.2
0.4
0.4
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.9
50.9
49.6
49.6
50.1
50.1
50.1
50.1
51.3
51.3
49.9
49.9
49.9
49.9
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.87.8
-
-6.06.0
6.5
6.5
7.4
7.4
11.0
11.0
33.6
33.6
33.6
33.6
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-5.75.7
-
-2.82.8
7.1
7.1
7.1
7.1
11.6
11.6
21.7
21.7
21.7
21.7
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.1
2.1
1.9
1.9
2.6
2.6
2.5
2.5
2.4
2.4
1.7
1.7
1.7
1.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
16.2
16.2
43.3
43.3
29.6
29.6
17.1
17.1
16.2
16.2
-
-
16.2
16.2
-อัตราดอกเบี้ย (HIBORHIBOR) (OvernightOvernight)
6.09
6.09
5.68
5.68
6.09
6.09
4.22
4.22
6.09
6.09
5.13
5.13
5.13
5.13
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
พ.ย.66
ธ.ค.66
ม.ค.67
YTD
YTD
เกาหลีใต้
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
-
-
1.4
1.4
2.2
2.2
-
-
-
-
-
-
1.4
1.4
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.6
0.6
0.6
0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.9
48.9
49.4
49.4
49.9
49.9
50.0
50.0
49.9
49.9
51.2
51.2
51.2
51.2
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.57.5
-
-9.79.7
5.7
5.7
7.3
7.3
5.0
5.0
18.0
18.0
18.0
18.0
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-12.112.1
-
-21.621.6
-
-10.710.7
-
-11.611.6
-
-10.910.9
-
-7.97.9
-
-7.97.9
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.6
3.6
3.1
3.1
3.4
3.4
3.3
3.3
3.2
3.2
2.8
2.8
2.8
2.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-1.51.5
-
-2.82.8
-
-2.32.3
-
-1.41.4
-
-1.41.4
-
-
-
-1.41.4
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight CallOvernight Call)
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
ไต้หวัน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.3
1.3
2.1
2.1
4.9
4.9
-
-
-
-
-
-
1.3
1.3
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.9
1.9
2.3
2.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.3
46.3
44.9
44.9
47.7
47.7
48.3
48.3
47.1
47.1
48.8
48.8
48.8
48.8
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-9.89.8
-
-5.15.1
3.3
3.3
3.7
3.7
11.7
11.7
18.1
18.1
18.1
18.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-17.917.9
-
-19.119.1
-
-11.511.5
-
-15.015.0
-
-6.86.8
19.0
19.0
19.0
19.0
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.4
2.4
2.9
2.9
2.9
2.9
2.7
2.7
1.8
1.8
1.8
1.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
6.9
6.9
5.5
5.5
4.4
4.4
7.5
7.5
6.9
6.9
0.3
0.3
0.3
0.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RediscountRediscount)
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
สิงคโปร์
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.1
1.1
1.0
1.0
2.2
2.2
-
-
-
-
-
-
1.1
1.1
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.0
1.0
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.0
50.0
49.9
49.9
50.3
50.3
50.3
50.3
50.5
50.5
50.7
50.7
50.7
50.7
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (SGDSGD) (%yoyyoy)
-
-10.110.1
-
-15.615.6
0.2
0.2
2.6
2.6
-
-4.64.6
16.7
16.7
16.7
16.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (SGDSGD) (%yoyyoy)
-
-13.413.4
-
-17.417.4
-
-4.74.7
-
-2.52.5
-
-9.39.3
11.1
11.1
11.1
11.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.8
4.8
4.1
4.1
4.0
4.0
3.6
3.6
3.7
3.7
3.4
3.4
2.9
2.9
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
2.3
2.3
2.2
2.2
0.6
0.6
2.6
2.6
2.3
2.3
-
-
2.3
2.3
-อัตราดอกเบี้ย (SIBORSIBOR) (OvernightOvernight)
3.62
3.62
3.82
3.82
3.62
3.62
3.66
3.66
3.62
3.62
3.48
3.48
3.48
3.48
อินโดนีเซีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.0
5.0
4.9
4.9
5.0
5.0
-
-
-
-
-
-
5.0
5.0
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.8
0.8
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
52.1
52.1
53.2
53.2
51.8
51.8
51.7
51.7
52.2
52.2
52.9
52.9
52.9
52.9
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-11.311.3
-
-18.618.6
-
-8.38.3
-
-8.68.6
-
-5.85.8
-
-8.18.1
-
-8.18.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-6.66.6
-
-11.911.9
-
-1.01.0
3.3
3.3
-
-3.83.8
0.4
0.4
0.4
0.4
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.7
3.7
2.9
2.9
2.7
2.7
3.0
3.0
2.8
2.8
2.6
2.6
3.7
3.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
1.5
1.5
1.4
1.4
1.5
1.5
1.6
1.6
1.5
1.5
3.7
3.7
3.7
3.7
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Reverse RepoReverse Repo)
6.00
6.00
5.75
5.75
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
มาเลเซีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
3.7
3.7
3.3
3.3
3.0
3.0
-
-
-
-
-
-
3.7
3.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
2.6
2.6
-
-2.12.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
47.8
47.8
47.5
47.5
47.5
47.5
47.9
47.9
47.9
47.9
49.0
49.0
49.0
49.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (MYRMYR) (%yoyyoy)
-
-8.08.0
-
-15.215.2
-
-6.96.9
-
-6.16.1
-
-10.110.1
8.7
8.7
8.7
8.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (MYRMYR) (%yoyyoy)
-
-6.46.4
-
-16.316.3
1.3
1.3
1.5
1.5
2.9
2.9
18.8
18.8
18.8
18.8
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.0
2.0
1.6
1.6
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
1.5
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
9.0
9.0
5.9
5.9
4.5
4.5
9.4
9.4
9.0
9.0
-
-
9.0
9.0
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (OvernightOvernight)
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
พ.ย.66
ธ.ค.66
ม.ค.67
YTD
YTD
ฟิลิปปินส์
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.6
5.6
6.0
6.0
5.6
5.6
-
-
-
-
-
-
5.6
5.6
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
3.8
3.8
2.1
2.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
51.8
51.8
50.7
50.7
52.2
52.2
52.7
52.7
51.5
51.5
50.9
50.9
50.9
50.9
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.67.6
-
-1.21.2
-
-10.710.7
-
-13.013.0
-
-0.50.5
-
-
-
-7.67.6
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-8.28.2
-
-14.114.1
-
-2.02.0
1.3
1.3
-
-5.15.1
-
-
-
-8.28.2
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
6.0
6.0
5.4
5.4
4.3
4.3
4.1
4.1
3.9
3.9
2.8
2.8
2.8
2.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
0.2
0.2
-
-1.31.3
-
-3.83.8
0.3
0.3
0.2
0.2
-
-
0.2
0.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (OvernightOvernight)
6.50
6.50
6.25
6.25
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
เวียดนาม
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.0
5.0
5.5
5.5
6.7
6.7
-
-
-
-
-
-
5.0
5.0
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
2.3
2.3
1.7
1.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.3
48.3
49.6
49.6
48.6
48.6
47.3
47.3
48.9
48.9
50.3
50.3
50.3
50.3
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.84.8
-
-2.42.4
6.9
6.9
6.9
6.9
8.1
8.1
46.0
46.0
19.3
19.3
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-9.49.4
-
-5.85.8
6.0
6.0
4.3
4.3
7.8
7.8
34.4
34.4
18.0
18.0
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.3
3.3
2.9
2.9
3.5
3.5
3.4
3.4
3.6
3.6
3.4
3.4
3.4
3.4
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
0.0
0.0
6.9
6.9
8.7
8.7
10.5
10.5
10.4
10.4
8.1
8.1
8.1
8.1
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
อินเดีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
7.7
7.7
8.1
8.1
8.4
8.4
-
-
-
-
-
-
7.7
7.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.30.3
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
56.8
56.8
57.9
57.9
55.5
55.5
56.0
56.0
54.9
54.9
56.5
56.5
56.5
56.5
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.74.7
-
-3.13.1
1.1
1.1
-
-3.13.1
0.8
0.8
3.1
3.1
-
-5.85.8
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-6.46.4
-
-9.89.8
0.1
0.1
-
-4.34.3
-
-4.94.9
3.0
3.0
3.0
3.0
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (WPIWPI) (%yoyyoy)
-
-0.00.0
-
-0.60.6
0.3
0.3
0.4
0.4
0.7
0.7
0.3
0.3
0.3
0.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
ออสเตรเลีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
-
-
2.5
2.5
-
-
-
-
-
-
-
-
5.9
5.9
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.2
0.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.8
48.8
49.3
49.3
47.8
47.8
47.7
47.7
47.6
47.6
50.1
50.1
50.1
50.1
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-5.85.8
-
-11.211.2
-
-8.68.6
-
-7.87.8
-
-6.36.3
-
-
-
-2.92.9
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
0.1
0.1
-
-2.52.5
-
-2.22.2
-
-4.14.1
-
-5.65.6
-
-
0.1
0.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.6
5.6
5.4
5.4
4.1
4.1
-
-
4.1
4.1
-
-
5.6
5.6
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
3.3
3.3
1.9
1.9
1.4
1.4
3.5
3.5
3.3
3.3
1.1
1.1
1.1
1.1
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo rateRepo rate)
4.35
4.35
4.10
4.10
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
สหราชอาณาจักร
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.1
0.1
0.2
0.2
-
-0.20.2
-
-
-
-
-
-
0.1
0.1
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.10.1
-
-0.30.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.4
46.4
44.2
44.2
46.1
46.1
47.2
47.2
46.2
46.2
47.0
47.0
47.0
47.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-2.92.9
-
-11.911.9
-
-13.113.1
-
-11.611.6
-
-27.627.6
-
-
-
-2.92.9
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.54.5
-
-10.810.8
-
-5.85.8
-
-4.54.5
-
-12.512.5
-
-
-
-4.54.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
7.3
7.3
6.7
6.7
4.2
4.2
3.9
3.9
4.0
4.0
4.0
4.0
4.0
4.0
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-2.72.7
-
-1.91.9
-
-1.51.5
-
-2.72.7
-
-2.72.7
0.7
0.7
0.7
0.7
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo RateRepo Rate)
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
พ.ย.66
ธ.ค.66
ม.ค.67
YTD
YTD
เยอรมนี
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
-
-0.30.3
-
-0.30.3
-
-0.20.2
-
-
-
-
-
-
-
-0.30.3
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.00.0
-
-0.30.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
42.6
42.6
39.2
39.2
42.2
42.2
42.6
42.6
43.3
43.3
45.5
45.5
45.5
45.5
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-6.16.1
-
-
-
-4.74.7
-
-
-
-
-
-1.31.3
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-9.49.4
-
-
-
-6.86.8
-
-
-
-
-
-7.17.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.9
5.9
5.6
5.6
3.6
3.6
3.2
3.2
3.7
3.7
2.9
2.9
2.9
2.9
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-3.33.3
-
-2.72.7
-
-0.70.7
-
-1.61.6
-
-0.60.6
-
-1.41.4
-
-1.41.4
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
สเปน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
2.5
2.5
1.9
1.9
2.0
2.0
-
-
-
-
-
-
2.5
2.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.4
0.4
0.6
0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.0
48.0
47.3
47.3
45.9
45.9
46.3
46.3
46.2
46.2
49.2
49.2
49.2
49.2
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-8.38.3
-
-
-
-8.08.0
-
-
-
-
-
-0.10.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-7.17.1
-
-
-
-2.82.8
-
-
-
-
-
-4.44.4
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HCPIHCPI) (%yoyyoy)
3.5
3.5
2.8
2.8
3.3
3.3
3.2
3.2
3.1
3.1
3.4
3.4
3.4
3.4
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
7.1
7.1
8.0
8.0
5.5
5.5
6.8
6.8
3.8
3.8
-
-
6.1
6.1
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
ฝรั่งเศส
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.9
0.9
0.6
0.6
0.7
0.7
-
-
-
-
-
-
0.9
0.9
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.00.0
-
-0.00.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
45.5
45.5
45.1
45.1
42.6
42.6
42.9
42.9
42.1
42.1
43.1
43.1
43.1
43.1
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-3.83.8
-
-
0.4
0.4
-
-
-
-
2.8
2.8
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-8.08.0
-
-
-
-7.17.1
-
-
-
-
-
-3.43.4
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.9
4.9
4.7
4.7
3.7
3.7
3.5
3.5
3.7
3.7
3.1
3.1
3.1
3.1
-
-ยอดค้าปลีก (%%yoyyoy))
-
-1.91.9
-
-1.61.6
-
-1.01.0
-
-0.00.0
-
-1.11.1
-
-
-
-1.91.9
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.5
4.5
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
อิตาลี
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.7
0.7
0.1
0.1
0.4
0.4
-
-
-
-
-
-
0.7
0.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.1
0.1
0.2
0.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.8
46.8
45.6
45.6
44.9
44.9
44.4
44.4
45.3
45.3
48.5
48.5
48.5
48.5
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-4.64.6
-
-
-
-4.44.4
-
-
-
-
0.7
0.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-13.913.9
-
-
-
-3.43.4
-
-
-
-
-
-7.37.3
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.6
5.6
5.6
5.6
1.0
1.0
0.7
0.7
0.6
0.6
0.8
0.8
0.8
0.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
2.9
2.9
2.2
2.2
1.7
1.7
1.6
1.6
1.7
1.7
-
-
3.2
3.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
Contributors
Contributors
Macroeconomic Policy Bureau
Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy OfficeFiscal Policy Office
Ministry of Finance
Ministry of Finance0202--273273--9020 Ext. 32599020 Ext. 3259
ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์
ผู้อำนวยกำรกองนโยบำย
เศรษฐกิจมหภำค
ดร.พงศ์นคร โภชากรณ์
ผู้เชี่ยวชำญเฉพำ
ด้ำนเศรษฐกิจมหภำค
ดร.ปาริฉัตร คลิ้งทองผู้อำนวยกำรส่วนกำรวิเครำห์เศรษฐกิจกำรเงินและต่ำงประเทศ
ดร.นรพัชร์ อัศววัลลภ
ผู้อำนวยกำรส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงำนวิจัย
ดร.ยุทธภูมิ จารุเศร์นี
ผู้อำนวยกำรส่วนแบบจำลอง
และประมำณกำรเศรษฐกิจกำรคลัง
ณัฐพล ศรีพจนารถ
ผู้อำนวยกำรส่วนกำรวิเครำห์
เศรษฐกิจมหภำค
Contributors
Contributors
Macroeconomic Policy Bureau
Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy OfficeFiscal Policy Office
Ministry of Finance
Ministry of Finance0202--273273--9020 9020 Ext. Ext. 32593259
ศักดิ์ส ทธิ์ สว่างศุข
ชานน ลิมป์ประสิทธิพร
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)(GDP)
ศิวัจน์ จิรกัลป์ยาพัฒน์
อุตสำหกรรม
วรรณวิภาแสงสารพันธ์
เกษตรกรรม
พิมพาภรณ์ สุทธหลวง
กำรท่องเที่ยว
เมธาวี ชื่นบาล
กำรบริโภค
ลภัส แจ่มแจ้ง
กำรลงทุน
ฐิตินันท์ เลิศกาญจนพร
กำรคลัง
ภัทราพร คุ้มสะอาด
กำรค้ำระหว่ำงประเทศ
วาสนา บุญพุ่ม
เสถียรภำพเศรษฐกิจ
ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ
ธนพล กาลเนาวกุล
จิรัฐกาล รอดภัยปวง
เศรษฐกิจต่ำงประเทศ
ญาณพัฒน์ สุขสาราญ
กำรเงิน ตลำดอัตรำแลกเปลี่ยน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง