ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567)

ข่าวเศรษฐกิจ Monday April 1, 2024 13:10 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 10/2567 วันที่ 29 มีนาคม 2567
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567)
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567) รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลังทั้งสิ้น จานวน 979,981 ล้านบาท ในขณะที่มีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้นจานวน 1,365,674 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 55,750 ล้านบาท ส่งผลให้ เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 178,500 ล้านบาท
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567)
หน่วย: ล้านบาท
5 เดือนแรก
เปรียบเทียบ
ปีงบประมาณ2567
ปีงบประมาณ2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายได้
979,981
980,978
(997)
(0.1)
2. รายจ่าย (2.1 + 2.2)
1,365,674
1,530,813
(165,139)
(10.8)
2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน
1,287,837
1,443,663
(155,826)
(10.8)
2.2 รายจ่ายปีก่อน
77,837
87,150
(9,313)
(10.7)
3. ดุลเงินงบประมาณ
(385,693)
(549,835)
164,142
29.9
4. ดุลเงินนอกงบประมาณ
(30,613)
(99,036)
68,423
69.1
5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4)
(416,306)
(648,871)
232,565
35.8
6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล
55,750
261,505
(205,755)
(78.7)
7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6)
(360,556)
(387,366)
26,810
6.9
8. เงินคงคลังต้นงวด
539,056
624,019
(84,963)
(13.6)
9. เงินคงคลังปลายงวด
178,500
236,653
(58,153)
(24.6)
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2567
ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3566
- 2 -
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2567 และในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กุมภาพันธ์ 2567)
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 รัฐบาลขาดดุลเงินสด จานวน 30,178 ล้านบาท โดยเป็นการขาดดุล เงินงบประมาณ จานวน 33,288 ล้านบาท และเป็นการเกินดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 3,110 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 มีจานวน 178,500 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. ฐานะการคลังเดือนกุมภาพันธ์ 2567
1.1 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง จานวน 149,860 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 2,126 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 1.4) โดยการนาส่งรายได้ของรัฐวิสาหกิจ และกรมสรรพากร สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วเป็นสาคัญ ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ประกอบกับการนาส่งรายได้ของ กรมสรรพสามิต (ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน) สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วเนื่องจากปีที่แล้วมีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 5 บาท/ลิตร ขณะที่ปีนี้มีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 1 บาท/ลิตร อย่างไรก็ดี การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งเป็นรายการหัก สูงกว่า เดือนเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจากการจัดสรรงวดที่ 1 ในเดือนมกราคม 2567 มีความล่าช้า ส่งผลให้มีการจัดสรร ในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 รวม 2 งวด
1.2 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จานวน 183,148 ล้านบาท ต่ากว่า เดือนเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 73,252 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 28.6) โดยเป็นรายจ่ายปีปัจจุบัน จานวน 171,940 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 29.4 และการเบิกจ่ายเงินจากงบประมาณ ปีก่อน จานวน 11,208 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 13.1 โดยรายจ่ายปีปัจจุบันประกอบด้วย (ตารางที่ 1)
1.2.1 รายจ่ายประจา จานวน 158,799 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 23.9 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน กระทรวงแรงงาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เบิกจ่ายต่ากว่าเดือนเดียวกัน ปีที่แล้ว
1.2.2 รายจ่ายลงทุน จานวน 13,141 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 62.2 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงคมนาคม กองทุนและเงินทุนหมุนเวียน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงศึกษาธิการ เบิกจ่ายต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สาคัญในเดือนนี้ ได้แก่ เงินอุดหนุนของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จานวน 19,851 ล้านบาท รายจ่ายชาระหนี้ ของกระทรวงการคลัง จานวน 14,771 ล้านบาท เงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 12,861 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานปลัดกระทรวงการคลัง จานวน 11,858 ล้านบาท เงินอุดหนุน ของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 3,856 ล้านบาท งบลงทุนของกรมทางหลวง จานวน 3,195 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของกรมการปกครอง จานวน 2,700 ล้านบาท และการเบิกจ่ายงบกลางรายการที่สาคัญ ได้แก่ เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ จานวน 30,257 ล้านบาท เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ จานวน 10,838 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 9,069 ล้านบาท และเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จานวน 554 ล้านบาท
- 3 -
ตารางที่ 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2567
หน่วย: ล้านบาท
เดือนกุมภาพันธ์ 2567
เปรียบเทียบ
2567
2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายจ่ายปีปัจจุบัน (1.1+1.2)
171,940
243,508
(71,568)
(29.4)
1.1 รายจ่ายประจา
158,799
208,752
(49,953)
(23.9)
1.2 รายจ่ายลงทุน
13,141
34,756
(21,615)
(62.2)
2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน
11,208
12,892
(1,684)
(13.1)
3. รายจ่ายรวม (1+2)
183,148
256,400
(73,252)
(28.6)
ที่มา: กรมบัญชีกลาง
1.3 ดุลการคลังรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2567 ขาดดุลจานวน 30,178ล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ จานวน 33,288 ล้านบาท และการเกินดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 3,110 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากเงินฝากคลังของกองทุนประชารัฐเพื่อเศรษฐกิจฐานราก สุทธิ 7,182 ล้านบาท ทั้งนี้ มีการถอนเงินฝากคลังของหน่วยงานต่างๆ สุทธิ จานวน 2,212 ล้านบาท และถอนเงินฝากคลังของกรมการแพทย์ สุทธิ จานวน 420 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 35,750 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังกู้ (หลังกู้ชดเชยการขาดดุล) เกินดุล จานวน 5,572 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 178,500 ล้านบาท (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดเดือนกุมภาพันธ์ 2567
หน่วย: ล้านบาท
เดือนกุมภาพันธ์
เปรียบเทียบ
2567
2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายได้
149,860
147,734
2,126
1.4
2. รายจ่าย (2.1 + 2.2)
183,148
256,400
(73,252)
(28.6)
2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน
171,940
243,508
(71,568)
(29.4)
2.2 รายจ่ายปีก่อน
11,208
12,892
(1,684)
(13.1)
3. ดุลเงินงบประมาณ
(33,288)
(108,666)
75,378
69.4
4. ดุลเงินนอกงบประมาณ
3,110
(7,411)
10,521
142.0
5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4)
(30,178)
(116,077)
85,899
74.0
6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล
35,750
14,400
21,350
148.3
7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6)
5,572
(101,677)
107,249
105.5
8. เงินคงคลังต้นงวด
172,928
338,330
(165,402)
(48.9)
9. เงินคงคลังปลายงวด
178,500
236,653
(58,153)
(24.6)
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2567
ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3566
- 4 -
2. ฐานะการคลังในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567
2.1 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง จานวน 979,981 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 0.1) ใกล้เคียงกับ ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว โดยการนาส่งรายได้ของหน่วยงานอื่นและกรมศุลกากรต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจากปีที่แล้วมีรายได้พิเศษรวม 37,059 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การนาส่งรายได้ของกรมสรรพสามิต (ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน) และกรมสรรพากร สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจากปีที่แล้ว มีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 5 บาท/ลิตร ขณะที่ปีนี้มีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 2.5 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 20 กันยายน ? 31 ธันวาคม 2566 และ 1 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 20 มกราคม ? 19 เมษายน 2567 และน้ามันเบนซิน 1 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 ? 31 มกราคม 2567 นอกจากนี้ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บในประเทศขยายตัวตามเศรษฐกิจ ประกอบกับการคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งเป็นรายการหัก ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
2.2 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จานวน 1,365,674 ล้านบาท ต่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 165,139 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 10.8) โดยเป็นรายจ่ายปีปัจจุบัน จานวน 1,287,837 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 155,826 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.8 และการเบิกจ่าย เงินจากงบประมาณปีก่อน จานวน 77,837 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 9,313 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.7 โดยรายจ่ายปีปัจจุบันประกอบด้วย (ตารางที่ 3)
2.2.1 รายจ่ายประจา จานวน 1,210,450 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 48.0 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอนเปลี่ยนแปลง จานวน 2,521,620 ล้านบาท) ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็น ร้อยละ 3.8 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เบิกจ่ายต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
2.2.2 รายจ่ายลงทุน จานวน 77,387 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 11.7 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง จานวน 663,380 ล้านบาท) ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 58.2 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงกลาโหม กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ส่วนราชการไม่สังกัด สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง และหน่วยงานภายใต้การควบคุมของนายกรัฐมนตรี และหน่วยงาน ของศาล เบิกจ่ายต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สาคัญ ได้แก่ รายจ่ายชาระหนี้ของกระทรวงการคลัง จานวน 136,786 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จานวน 97,018 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จานวน 86,677 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จานวน 76,697 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร จานวน 45,323 ล้านบาท เงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 44,880 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานปลัดกระทรวงการคลัง จานวน 35,609 ล้านบาท เงินอุดหนุน ของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 35,481 ล้านบาท เงินอุดหนุนของสานักงานประกันสังคม จานวน 31,537 ล้านบาท งบลงทุนของกรมทางหลวง จานวน 17,785 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของกรมการปกครอง จานวน 13,496 ล้านบาท เงินอุดหนุนของสานักงานศาลยุติธรรม จานวน 10,088 ล้านบาท และการเบิกจ่ายงบกลางรายการที่สาคัญ ได้แก่ เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ จานวน 160,081 ล้านบาท ค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 44,572 ล้านบาท เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ จานวน 35,126 ล้านบาท และเงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จานวน 1,632 ล้านบาท
- 5 -
ตารางที่ 3 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 ? กุมภาพันธ์ 2567)
หน่วย: ล้านบาท
5 เดือนแรก
เปรียบเทียบ
ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ
ปีงบประมาณ
2567
ปีงบประมาณ2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายจ่ายปีปัจจุบัน (1.1+1.2)
1,287,837
1,443,663
(155,826)
(10.8)
40.4
1.1 รายจ่ายประจา
1,210,450
1,258,460
(48,010)
(3.8)
48.0
1.2 รายจ่ายลงทุน
77,387
185,203
(107,816)
(58.2)
11.7
2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน
77,837
87,150
(9,313)
(10.7)
48.6
3. รายจ่ายรวม (1+2)
1,365,674
1,530,813
(165,139)
(10.8) 40.8
ที่มา: กรมบัญชีกลาง
2.3 ดุลการคลังรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดขาดดุล จานวน 416,306 ล้านบาท โดยเป็น การขาดดุลเงินงบประมาณ จานวน 385,693 ล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 30,613 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการถอนเงินฝากคลังของภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม งวดที่ 10 - 12 ของปีงบประมาณ 2566 จานวน 31,610 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 55,750 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังกู้ (หลังกู้ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุล จานวน 360,556 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 178,500 ล้านบาท (ตารางที่ 4)
ตารางที่ 4 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 5 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 ? กุมภาพันธ์ 2567)
หน่วย: ล้านบาท
5 เดือนแรก
เปรียบเทียบ
ปีงบประมาณ2567
ปีงบประมาณ2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายได้
979,981
980,978
(997)
(0.1)
2. รายจ่าย (2.1 + 2.2)
1,365,674
1,530,813
(165,139)
(10.8)
2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน
1,287,837
1,443,663
(155,826)
(10.8)
2.2 รายจ่ายปีก่อน
77,837
87,150
(9,313)
(10.7)
3. ดุลเงินงบประมาณ
(385,693)
(549,835)
164,142
29.9
4. ดุลเงินนอกงบประมาณ
(30,613)
(99,036)
68,423
69.1
5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4)
(416,306)
(648,871)
232,565
35.8
6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล
55,750
261,505
(205,755)
(78.7)
7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6)
(360,556)
(387,366)
26,810
6.9
8. เงินคงคลังต้นงวด
539,056
624,019
(84,963)
(13.6)
9. เงินคงคลังปลายงวด
178,500
236,653
(58,153)
(24.6)
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 15 มีนาคม 2567
ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง
กองนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3566


          ที่มา: กระทรวงการคลัง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ