เศรษฐกิจไทย
Macro Weekly Review
Last updated
5 April 2024
FPO
Executive Summary
1 1
? อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มี.ค. 67 ลดลงที่ร้อยละ -0.5 ต่อปี โดยจากมาตรการช่วยเหลือ
ค่าครองชีพด้านพลังงานของภาครัฐยังคงดาเนินการอยู่ ได้แก่ การตรึงราคา ค่ากระแสไฟฟ้าและ
น้ามันดีเซล ประกอบกับการลดลงของราคาสินค้าในกลุ่มอาหาร ได้แก่ น้ามันพืช เนื้อสุกร และ
ผักสด เนื่องจากฐานราคาของปีที่ผ่านมาอยู่ในระดับสูง และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออก
แล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มี.ค. 67 ลดลงร้อยละ -1.2 ต่อปี โดยสาเหตุมาจากหมวดเหล็ก
และผลิตเหล็ก จากวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัวทาให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกิน
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -17.5 ต่อปี โดยมี
ปัจจัยมาจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ ทั้งการตรวจสอบ
อย่างเข้มงวดต่อผู้ขอสินเชื่อ รวมทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ทรงตัวในระดับสูง
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก .พ. 67 คิดเป็นร้อยละ 62.5 ของ GDP โดยยังอยู่
ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
Economic Calendar: Apr 2024
2
Monday Tuesday Wednesday Thursday Friday
1 2 3 4 5
TH Pub Debt to GDP (Feb 24) TH Motorcycle Sales (Mar 24) TH Headline Inf. (Mar 24) = -0.5%
= 62.48% = -17.5% TH Core Inf. (Mar 24) = 0.4%
TH CMI (Mar 24) = -1.2%
8 9 10 11 12
TH CCI (Mar 24)
15 16 17 18 19
TH TISI (Mar 24) TH Gov. Exp (Mar 24)
THCement Sales (Mar 24) TH Gov. Revenue (Mar 24)
TH Budget Bal. (Mar 24)
TH Real VAT (Mar 24)
TH Real Estate Tax (Mar 24)
22 23 24 25 26
TH Pass.car Sales (Mar 24) TH API (Mar 24) TH C/A (Mar 24)
TH Comm.car Sales (Mar 24) TH Agri Price (Mar 24) TH
Credit Of Depository
Institutions (Mar 24)
TH
Deposit Of Depository
Institutions (Mar 24)
TH
Liquidity Coverage Ratio
(Feb 24)
29 30
TH Export (Mar 24) TH MPI (Mar 24)
TH Import (Mar 24) TH Iron Sales (Mar 24)
TH Tourism Arrival (Mar 24)
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มี.ค. 67ลดลงที่ร้อยละ -0.5ต่อปี
?
?เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน มี.ค. 67 ลดลงร้อยละ -0.5 (YoY)YoY)((ต่ากว่าที่ สศค. คาดการณ์ ณ เดือน ม.ค. 67 ที่ร้อยละ -0.1 (YoY)YoY)))โดยสาเหตุสาคัญจากมาตรการ ช่วยเหลือค่าครองชีพด้านพลังงานของภาครัฐยังคงดาเนินการอยู่ ได้แก่ การตรึงราคา ค่ากระแสไฟฟ้าและน้ามันดีเซล ประกอบกับการลดลงของราคาสินค้าในกลุ่มอาหาร ได้แก่ น้ามันพืช เนื้อสุกร และผักสด เนื่องจากฐานราคาของปีที่ผ่านมาอยู่ในระดับสูง
?
?อย่างไรก็ดีมีสินค้าที่ปรับขึ้น เช่น ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว อาหารสาเร็จรูป น้ามันเชื้อเพลิง (แก๊สโซฮอล์และเบนซิน) เป็นต้น
?
?เมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อ สูงขึ้นร้อยละ 0.03 (MoM)MoM)จากการสูงขึ้นของ ผักสดและผลไม้สด และราคาน้ามันเชื้อเพลิง
?
?เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (ContributionContributionYoY)YoY)พบว่า หมวดอาหารสด หมวดไฟฟ้าน้าประปา หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง เป็นปัจจัยลบที่ทาให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.4-0.2-0.1ขณะที่หมวดอาหารสาเร็จรูปเป็นปัจจัยบวกที่ทาให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.1
?
?และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัว +0.4 (YoY)YoY)และลดลงเล็กน้อยที่ร้อยละ -0.01 (MoM) MoM) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
Inflation Rate
Inflation Rate
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q
Q3
Q4
Q4
ทั้งปี
Q1
Q1
Feb
Feb
Mar
Mar
YTD
YTD
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
0.5
0.5
-0.0.5
1.2
-0.8
-0.8
-0.5
-0.8
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
0.7
0.7
0.6
0.6
1.3
0.4
0.4
0.4
0.4
ที่มา : : กระทรวงพาณิชย์
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มี.ค. 6767ลดลงร้อยละ --1.21.2เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มี.ค. 6767ลดลงร้อยละ --1.21.2เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยสาเหตุมาจากหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก ลดลงร้อยละ --4.14.1โดยลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 1212จากวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัวทาให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกิน และหมวดสุขภัณฑ์ที่ลดลงร้อยละ --2.82.8จากความต้องการใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่ชะลอตัวจากอัตราดอกเบี้ยที่สูงและความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ --3.53.5ขณะที่หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดกระเบื้อง หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา มีดัชนีราคาสูงขึ้น
Construction Materials Price Index : CMI
Construction Materials Price Index : CMI
-
-1.21.2
-4
-4
-2
-2
0
0
2
2
4
4
6
6
8
8
10
10
12
12
Mar-22
Mar-22
May-22
May-Jul-22
Jul-Sep-22
Sep-Nov-22
Nov-Jan-23
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
Sep-23
Nov-23
Jan-24
24
Mar-24
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q3
Q3
Q4
Q4
ทั้งปี
Q1
Q1
Feb
Feb
Mar
Mar
YTD
YTD
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง
-
-0.20.2
-
-0.20.2
0.1
0.1
-
-1.11.1
-
-1.11.1
-
-1.21.2
-
-1.11.1
2.8
2.8
2.7
2.7
0.5
0.5
0.2
0.2
0.4
0.4
0.9
0.9
0.3
0.3
-
-0.30.3
-
-0.40.4
-
-0.80.8
-
-1.11.1
-
-0.80.8
-
-0.470.47
1.7
1.7
1.7
1.7
1.5
1.5
1.3
1.3
0.9
0.9
0.8
0.8
0.6
0.6
0.7
0.7
0.6
0.6
0.6
0.6
0.5
0.5
0.4
0.4
0.37
0.37
-2.0
-2.0
0.0
0.0
2.0
2.0
4.0
4.0
มี.ค. 66
เม.ย. 66
พ.ค. 66
มิ.ย. 66
ก.ค. 66
ส.ค. 66
ก.ย. 66
ต.ค. 66
พ.ย. 66
ธ.ค. 66
ม.ค. 67
ก.พ. 67
มี.ค. 67
Headline Inflation
Headline Inflation
Core Inflation
Core Inflation
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
มา ::กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มี.ค. 66หดตัวที่ร้อยละ -17.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -5.7
ยังได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ ทั้งการตรวจสอบอย่างเข้มงวดต่อผู้ขอสินเชื่อ การตรวจสอบเครดิตบูโร หรือการลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติของผู้กู้ ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยที่ทรงตัวในระดับสูงและรายได้เกษตรกรที่ลดลง ส่งผลให้การบริโภคของประชาชนชะลอตัวลงตามไปด้วย แต่อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยว มาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพจากภาครัฐ และอัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่า ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป
Indicators
Indicators
(%yoy)
(%yoy)
2023
2023
2024
2024
Q
Q33
Q
Q44
ทั้งปี
Q1
Q1
Feb
Feb
Mar
Mar
YTD
YTD
ปริมาณรถจักรยานยนต์
0.3
0.3
-
-2.32.3
4.6
4.6
-
-10.210.2
-
-10.010.0
-
-17.517.5
-
-10.210.2
%
%MoM_saMoM_sa,,%%QoQ_saQoQ_sa
-
-1.01.0
-
-4.84.8
-
-3.4
-5.1
-5.7
-
101.1
101.1
40.0
40.0
60.0
60.0
80.0
80.0
100.0
100.0
120.0
120.0
140.0
140.0
160.0
160.0
180.0
180.0
Sep-21
Sep-21
Mar-22
Mar-22
Sep-22
Sep-22
Mar-23
Mar-23
Sep-23
Sep-23
Mar-24
Mar-24
Motorcycle Registration
Motorcycle Registration
Index
Index sasa((20212021==100100))
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
5
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.พ. 67 มีจานวนทั้งสิ้น 11,275,041..76 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 62.55ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 83,452.19ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 84.1ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.88ของยอดหนี้สาธารณะ
ที่มา ::สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ
62.5
62.5%%
0
0
2000000
2000000
4000000
4000000
6000000
6000000
8000000
8000000
10000000
10000000
12000000
12000000
Jan
Jan
Feb
Feb
Mar
Mar
Apr
Apr
May
May
Jun
Jun
Jul
Jul
Aug
Aug
Sep
Sep
Oct
Oct
Nov
Nov
Dec
Dec
Jan
Jan
Feb
Feb
2023
2023
2024
2024
50%
50%
55%
55%
60%
60%
65%
65%
70%
70%
Public Debt Outstanding
Public Debt Outstanding
% of GDP
% of GDP
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM)ISM)เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ 50.3 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 47.8จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 48.4จุด
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM)ISM)เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ 51.4 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 52.6จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ 52.7จุด
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (17-23 มี.ค. 67) อยู่ที่ 2.21 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า และมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.14 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (fourfourweekweekmovingmovingaverage)average)ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้วแล้วเพิ่มขึ้น จากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.14แสนราย
สหรัฐอเมริกา
อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 6.5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 6.4
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.6และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.6
ยูโรโซน
ญี่ปุ่น
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (JibunJibunBankBankPMI)PMI)ภาคการผลิต (final)final)เดือน มี.ค. 67อยู่ที่ 48.2 เพิ่มขึ้นจากระดับ 47.2ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี กิจกรรมโรงงานยังคงหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10ท่ามกลางผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่ลดลง
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (JibunJibunBankBankPMI)PMI)ภาคบริการ (final)final)เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ 54.1ลดลงจากระดับ 54.9 ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ยังคงเป็นการขยายตัวอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19ของภาคบริการ โดยได้แรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของความต้องการ จานวนลูกค้า และการจ้างงาน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.9จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 51.0จุด นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมเป็นเดือนที่ 5ติดต่อกัน
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.5จุด นับเป็นการขยายตัวของภาคบริการเป็นเดือนที่ 15ติดต่อกัน
จีน
6
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
สิงคโปร์
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) S&P Global) ภาคเอกชน เดือน มี.ค.67 อยู่ที่ระดับ 55.7สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13ของกิจกรรมภาคเอกชน จากการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อใหม่ ผลผลิต และการจ้างงาน
ออสเตรเลีย
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.8จุด ซึ่งดัชนีฯ ต่ากว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมยังคงหดตัว
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.1จุด
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน ก.พ. 67 หดตัวที่ร้อยละ -2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -8.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้าสินค้า เดือน ก.พ. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 17.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -1.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 49.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.4จุด โดยกลับมาต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
เวียดนาม
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.05 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 2.75จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.7 จุด ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 64 เนื่องจากผลผลิตเติบโตมากที่สุดในรอบ 27 เดือนก่อนเทศกาล EidEidalal--FitrFitrในขณะที่การเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อใหม่แตะระดับสูงสุดในรอบ 7เดือน นอกจากนี้ ระดับการซื้อยังขยายตัวในอัตราที่เร่งขึ้น ซึ่งแข็งแกร่งที่สุดในรอบกว่า 2ปี
อินโดนีเซีย
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) PMI) เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 48.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.5 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19 และเป็นระดับดัชนีที่ต่าที่สุดในรอบปี เนื่องจากยอดคาสั่งใหม่ (new order) new order) ผลผลิตอุตสาหกรรม และการจ้างงานมีการหดตัวลงในอัตราที่ต่าที่สุดในรอบปี
มาเลเซีย
7
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI) (final) HSBC India Manufacturing PMI) (final) เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 59.1 เพิ่มขึ้นจะระดับ 56.9 ในเดือนก่อนหน้า บ่งชี้ถึงการขยายตัวอย่างมากของภาคการผลิต ซึ่งถือเป็นการเติบโตที่แข็งแกร่งที่สุดในรอบกว่า 16ปี ปัจจัยสนับสนุนสาคัญมาจากผลผลิต คาสั่งซื้อสินค้าใหม่ และการส่งออกที่แข็งแกร่ง
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI) (final) HSBC India Services PMI) (final) เดือน มี.ค. 67 ปรับตัวสูงขึ้นเป็น 61.2 จากประมาณการณ์เบื้องต้นที่ 60.3 และ 60.6 ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 32 ของภาคบริการ โดยได้แรงหนุนจากการประกอบธุรกิจที่เพิ่มขึ้นและคาสั่งซื้อใหม่ของสินค้าส่งออกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ ก.ย 57
อินเดีย
ดุลการค้า เดือน มี.ค. 67 เกินดุล 4.28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 3.1ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6) จากการฟื้นตัวของการส่งออกเซมิคอนดัคเตอร์ ขณะที่การนาเข้าหดตัวร้อยละ -12.3ต่อปี (หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13)
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&PS&PGlobalGlobalPMI)PMI)ภาคการผลิต เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 49.8 ลดลงเล็กน้อยจากระดับ 50.7ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการลดลงของระดับผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.1 เท่ากับเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับสูงสุดนับจาก ธ.ค.66จากต้นทุนอาหารสดและพลังงานที่เพิ่มขึ้น
ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน ก.พ. 67 เกินดุล 6.86 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 ท่ามกลางการเกินดุลการค้าและรายได้จากเงินปันผลที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การส่งออกขยายตัวร้อยละ 3.0ต่อปี และการนาเข้าหดตัวร้อยละ -12.2ต่อปี
เกาหลีใต้
ไต้หวัน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) PMI) เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 49.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.6 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 22แต่เป็นการหดตัวในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มิ.ย. 65
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 41.9 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยุ่ที่ระดับ 41.6จุด บ่งชี้การชะลอตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.1 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.3จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ
เยอรมนี
8
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 67 อยู่ที่ร้อยละ 7.5 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 7.3ของกาลังแรงงานรวม
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.7จุด แต่ยังคงสูงกว่าที่ตลาดคาดไว้ที่ระดับ 48.8จุด
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.2จุด
อิตาลี
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) S&P Global PMI) ภาคการผลิต (final) final) เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ 50.3 เพิ่มขึ้นจากระดับ 47.5ในเดือนก่อนหน้า บ่งชี้การขยายตัวของกิจกรรมการผลิตครั้งแรกนับตั้งแต่เดือน ก.ค.65เนื่องจากผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้น
ยอดขายรถยนต์ใหม่ เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 10.4 ต่อปี ชะลอลงจากร้อยละ 14ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า ยอดขายนับจากปี 34ถึง 67ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 11.25ต่อปี
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&PS&PGlobalGlobalPMI)PMI)ภาคบริการ (final)final)เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ 53.1 ต่าสุดในรอบ 4เดือน แต่การเติบโตยังคงอยู่ในอัตราที่ค่อนข้างสูง จากการเพิ่มขึ้นของงานใหม่ๆ และการฟื้นตัวของธุรกิจและผู้บริโภค
สหราชอาณาจักร
ดัชนี PMI PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.4 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.5จุด แต่ยังสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.0จุด
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 56.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.7จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 55.5จุด
สเปน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ก.ย. 65อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารเป็นสาคัญ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) PMI) เดือน มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 46.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 47.1 จุด และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 45.8จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14
ฝรั่งเศส
9
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นShanghaiShanghai(จีน) HengHengSengSeng(ฮ่องกง) และ TWSETWSE((ไต้หวัน))เป็นต้น เมื่อวันที่ 4เม.ย. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,31,373.89จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่1 -4 เม.ย. 667 อยู่ที่334,,576.54 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1 -4 เม.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 576.56ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 7 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11และ 51ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.69และ 0.74เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่1-4เม.ย. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากนตลาดพันธบัตรสุทธิ -8,,937.27 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 4เม.ย. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -43,,474.05 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่4 เม.ย. 67เงินบาทปิดที่ 36.68 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.63จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิตเปโซวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโร ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.61
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
Foreign
Foreign EExchangexchange
4
4--AprApr--2424
1w %
1w %chgchg
1m %
1m %chgchg
YTD %
YTD %chgchg
Avg 22 %
Avg 22 %chgchg
Avg YTD
Avg YTD
THB/USD
THB/USD
36.68
36.68
-
-0.630.63
-
-2.412.41
-
-7.057.05
-
-4.584.58
35.01
35.01
JPY/USD
JPY/USD
151.69
151.69
-
-0.170.17
-
-0.920.92
-
-7.287.28
-
-15.2515.25
142.29
142.29
USD/EUR
USD/EUR
1.09
1.09
0.38
0.38
0.06
0.06
-
-0.610.61
3.02
3.02
1.08
1.08
MYR/USD
MYR/USD
4.74
4.74
-
-0.220.22
-
-0.240.24
-
-2.302.30
-
-7.727.72
4.60
4.60
PHP/USD
PHP/USD
56.39
56.39
-
-0.200.20
-
-0.610.61
-
-1.541.54
-
-3.513.51
55.71
55.71
KRW/USD
KRW/USD
1,349.10
1,349.10
-
-0.250.25
-
-1.121.12
-
-3.833.83
-
-4.424.42
1,310.61
1,310.61
NTD/USD
NTD/USD
32.06
32.06
-
-0.220.22
-
-1.671.67
-
-3.383.38
-
-7.397.39
31.25
31.25
SGD/USD
SGD/USD
1.35
1.35
-
-0.030.03
-
-0.280.28
-
-1.631.63
2.24
2.24
1.34
1.34
CNY/USD
CNY/USD
7.09
7.09
-
-0.0010.001
0.10
0.10
0.07
0.07
-
-5.485.48
7.06
7.06
NEER
NEER
107.73
107.73
-
-0.610.61
-
-2.052.05
-
-4.754.75
-
-0.180.18
111.24
111.24
ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ
10
10
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC ธนาคารแห่งประเทศไทย และสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยรวมรวบโดย สศค.
Economic Indicators
Economic Indicators
FY6
FY66
FY
FY6666
FY67
FY67
FYTD
FYTD
Q3
Q3
Q4
Q4
Q1
Q1
ม.ค.
ก.พ.
การคลัง
(พันล้านบาท)
รายได้สุทธิรัฐบาล (หลังหักจัดสรร)
2,666.8
795.1
711.0
623.53.5
199.19.1
159.3
159.3
981.9
981.9
%YoY
%YoY
5.3
3.2
5.8
-2.55
-0.11
8.7
8.7
-
-0.40.4
-รายได้จัดเก็บ 3 กรม
2,815.4
819.5
775.7
612.1
223.3
194.1
194.1
1,029.7
1,029.7
%YoY
%YoY
1.3
-0.4
0.1
1.8
1.7
3.6
3.6
2.1
2.1
รายจ่ายรวม
3,262.4
770.1
770.1
696.9
963.8
218.7
183.1
183.1
1,365.7
1,365.7
%YoY
%YoY
3.7
8.3
8.3
-2.1
-7.4
-6.2
-
-28.628.6
-
-10.810.8
-รายจ่ายประจา
2,610.2
625.3
625.3
525.7
859.1
192.5
158.8
158.8
1,210.5
1,210.5
%YoY
%YoY
3.7
9.5
9.5
-3.4
0.0
0.8
-
-23.923.9
-
-3.83.8
-รายจ่ายลงทุน
478.2
116.9
116.9
128.6
51.1
13.2
13.1
13.1
77.4
77.4
%YoY
%YoY
15.0
7.8
7.8
7.7
-58.6
-51.1
-
-62.262.2
-
-58.258.2
ดุลงบประมาณ
-598.4
29.4
29.4
9.9
-
-341.0341.0
-
-39.639.6
-
-33.333.3
-
-413.9413.9
ปี 666
Q4/66
Q4/66
Q1/67
Q1/67
ม.ค.6767
ก.พ.6767
มี.ค.6767
YTD
YTD
Real GDP
Real GDP
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%yoy)(%yoy)
1.9
1.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (%(%qoq_saqoq_sa))
-
-
-0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
อุปทาน
(%y
(%y--oo--y)y)
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร
-0.2
-
-2.2.3
-
-
-
-5.45.4
-
-7.57.5
-
-
-
-6.46.4
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร
-2..0
0.1
0.1
-
-
3.8
5.5
5.5
-
-
4.7
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง
-
-2.32.3
-
-0.80.8
-
-
-0.6
-
-1.7
-
-
-1.1
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม
-3.8
-
-2.9
-
-
-
-2.9
-
-2.8
-
-
-
-2.9
-อาหาร (สัดส่วน 16.6.4%)
-
-2.4.4
-
-55.33
-
-
0.9
0.9
-
-0.8
-
-
0.
0.1
-คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ (8.9%)
-
-18.918.9
-
-188.99
-
-
-
-16.16.7
-
-18.1
-
-
-
-117..4
-ยางและพลาสติก (สัดส่วน 8.8%)
-
-2.42.4
1
1.77
-
-
4..4
-
-1.0
-
-
1.7.7
-ยานยนต์ (สัดส่วน 13.8%)
0.8
0.8
-
-100.11
-
-
-
-9.9.8
-
-16.2
-
-
-
-13..0
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรม (ระดับ)
922.6
89.4
-
-
90.6
90.0
-
-
90.3
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
154.4
154.4
49.1
49.1
-
-
41.5
58.6
-
-
50.0
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย
22.72.7
14.3
14.3
-
-
6.8
9.1
-
-
7.9
การบริโภคเอกชน
(%y
(%y--oo--y)y)
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาที่แท้จริง
-1.7
1.9
-
-
-
-2.82.8
5.7
-
-
1.2
1.2
-
-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บในประเทศ
4.4
5.9
5.9
-
-
0.8
0.8
8.5
-
-
4.4
4.4
-
-ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้า
-8.4
-2.5
-
-
-
-7.97.9
2.4
2.4
-
-
-
-3.13.1
ยอดจาหน่ายรถยนต์นั่ง
10.3
10.3
13.0
13.0
-
-
2.4
-
-20.1
-
-
-
-9.3
ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่
4.6
-
-2.32.3
-
-10.210.2
-1.8
-
-10.010.0
-
-17.517.5
-10.2
ปริมาณนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูป USDUSD
-
-0.70.7
2.5
2.5
-
-
-
-1.81.8
10.4
10.4
-
-
3.6
3.6
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
56.7
61.0
-
-
62.9
63.8
-
-
63.4
ปี 6666
Q4/66
Q4/66
Q
Q11//6767
ม.ค.6767
ก.พ.6767
มี.ค.6767
YTD
YTD
การลงทุนเอกชน
(%y
(%y--oo--y)y)
ปริมาณนาเข้าสินค้าทุนในรูป USDUSD
3.8
3.8
16.5
16.5
-
-
11.4
11.4
27.1
27.1
-
-
19.1
19.1
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์
-
-17.317.3
-
-23.323.3
-
-
-
-26.526.5
-
-29.429.4
-
-
-
-28.028.0
-รถกระบะขนาด 1 ตัน
-
-28.728.7
-
-39.939.9
-
-
-
-43.543.5
-
-44.044.0
-
-
-
-43.843.8
ภาษีธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์
3.8
3.8
-
-17.417.4
-
-
-
-3.33.3
-
-15.415.4
-
-
-
-10.010.0
ยอดขายปูนซีเมนต์
-
-2.42.4
-
-0.40.4
-
-
-
-7.27.2
-
-7.77.7
-
-
-
-7.57.5
ยอดขายเหล็ก
-
-9.99.9
-
-10.610.6
-
-
1.0
1.0
-
-5.85.8
-
-
-
-2.42.4
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง
0.1
0.1
-
-0.20.2
-
-1.11.1
-
-1.01.0
-
-1.11.1
-
-1.21.2
-
-1.11.1
การค้าระหว่างประเทศ
(%y
(%y--oo--y)y)
มูลค่าการส่งออกสินค้าในรูป USDUSD
-
-1.01.0
5.8
5.8
-
-
10.0
10.0
3.6
3.6
-
-
6.7
6.7
-
-รถยนต์และส่วนประกอบ (สัดส่วน 10.9%)
9.0
9.0
0.9
0.9
-
-
-
-4.74.7
-
-5.65.6
-
-
-
-5.15.1
-
-เครื่องคอมพิวเตอร์ฯ (สัดส่วน 6.3%)
-
-13.913.9
3.1
3.1
-
-
32.2
32.2
24.9
24.9
-
-
28.4
28.4
-
-อัญมณีและเครื่องประดับ(สัดส่วน 5.2%)
-
-2.22.2
32.6
32.6
-
-
59.1
59.1
50.8
50.8
-
-
53.9
53.9
-
-ผลิตภัณฑ์ยาง(สัดส่วน 4.7%)
-
-4.44.4
1.6
1.6
-
-
3.7
3.7
-
-4.14.1
-
-
-
-0.40.4
-
-เม็ดพลาสติก (สัดส่วน 3.1%)
-
-16.916.9
-
-2.92.9
-
-
-
-0.30.3
-
-2.72.7
-
-
-
-1.51.5
-
-น้ามันสาเร็จรูป (สัดส่วน 3.6%)
0.8
0.8
54.2
54.2
-
-
5.3
5.3
-
-9.69.6
-
-
-
-2.02.0
-
-เคมีภัณฑ์ (สัดส่วน 2.8%)
-
-16.016.0
-
-6.06.0
-
-
-
-1.61.6
-
-14.214.2
-
-
-
-8.08.0
-
-แผงวงจรไฟฟ้า (สัดส่วน 3.4%)
4.1
4.1
-
-2.82.8
-
-
-
-1.91.9
-
-13.213.2
-
-
-
-7.67.6
-สินค้าเกษตร (สัดส่วน 9.9.4%%)
0.2
0.2
3.7
3.7
-
-
14.0
14.0
7.5
7.5
-
-
10.7
10.7
-สินค้าอุตสาหกรรมเกษตร (สัดส่วน 7.97.9%%)
-
-1.71.7
3.7
3.7
-
-
3.8
3.8
-
-9.19.1
-
-
-
-3.53.5
ราคาส่งออกสินค้า
1.2
1.2
1.4
1.4
-
-
1.0
1.0
1.3
1.3
-
-
1.2
1.2
ปริมาณส่งออกสินค้า
-
-2.12.1
4.4
4.4
-
-
8.9
8.9
2.3
2.3
-
-
5.4
5.4
มูลค่าการนาเข้าสินค้าในรูปUSDUSD
-
-3.83.8
5.8
5.8
-
-
2.6
2.6
3.2
3.2
-
-
2.9
2.9
-วัตถุดิบ (สัดส่วน 39.2%)
-
-9.79.7
-
-0.60.6
-
-
10.4
10.4
6.5
6.5
-
-
8.5
8.5
-ทุนและเครื่องจักร (สัดส่วน 224.0%)
4.2
4.2
15.7
15.7
-
-
10.2
10.2
25.6
25.6
-
-
17.8
17.8
-อุปโภคบริโภค (สัดส่วน 11.4%)
1.5
1.5
4.1
4.1
-
-
-
-0.10.1
12.0
12.0
-
-
5.3
5.3
-สินแร่และเชื้อเพลิง (สัดส่วน 18.5%)
-
-10.310.3
4.7
4.7
-
-
-
-15.715.7
-
-22.922.9
-
-
-
-19.319.3
ราคานาเข้าสินค้า
-
-0.80.8
-
-0.50.5
-
-
-
-1.81.8
-
-1.61.6
-
-
-
-1.71.7
ปริมาณนาเข้าสินค้า
-
-2.92.9
6.3
6.3
-
-
4.5
4.5
4.8
4.8
-
-
4.7
4.7
การเงิน
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (%)
2.50
2.50
-
-
2.50
2.50
2.50
2.50
-
-
2.50
2.50
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ MLR MLR ธนาคารพาณิชย์ ((เฉลี่ย))(%)
7.17
7.17
-
-
7.17
7.17
-
-
7.17
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือนธนาคารพาณิชย์ ((เฉลี่ย))(%)
1.65
1.65
-
-
1.65
1.65
-
-
1.65
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (%yy--oo--yy)
1.5
1.5
-
-
1.5
1.5
1.4
-
-
1.
1.4
อัตราการขยายตัวของเงินฝาก (%yy--oo--yy)
1.4
1.4
-
-
2.1
2.1
2.0
-
-
2.
2.0
เสถียรภาพเศรษฐกิจ
ดุลการค้าตามระบบกรมศุลฯ (พันล้าน USD)USD)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ดุลบัญชีเดินสะพัด ((พันล้านUSD)USD)
7.00
2.01
-
-
-0.19
1.96
-
-
-1.1.77
ทุนสารองระหว่างประเทศ(พันล้าน USDUSD)
224.4
224.4
-
-
221.6
222.4
-
-
223.5*
223.5*
อัตราการว่างงาน (%)
1.0
1.0
0.8
0.8
-
-
1.1
1.1
1.0
1.0
-
-
1.0
1.0
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป(%y(%y--oo--y)y)
1.2
1.2
-
-0.50.5
-0.8
-1.1
-0.8
-0.5
-0.8
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%y(%y--oo--y)y)
1.3
1.3
0.6
0.6
0.4
0.5
0.4
0.4
0.4
หนี้สาธารณะต่อ GDP (%)GDP (%)
60.95
61.85
-
-
62.23
62.48
-
-
62.48
62.48
*ข้อมูลทุนสารองระหว่างประเทศ วันที่ 2929มี.ค. 67 โดยฐานะ Forward Forward สุทธิอยู่ที 29.5529.55พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
Economic Indicators
Economic Indicators
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
ธ.ค.66
ม.ค.67
ก.พ.67
YTD
YTD
สหรัฐฯ
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.9
2.9
3.1
3.1
-
-
-
-
-
-
2.5
2.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.2
1.2
0.8
0.8
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
47.1
47.1
47.6
47.6
46.9
46.9
47.1
47.1
49.1
49.1
47.8
47.8
48.5
48.5
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-1.81.8
-
-5.75.7
-
-0.90.9
-
-0.00.0
-
-3.33.3
4.4
4.4
0.5
0.5
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.94.9
-
-5.75.7
-
-1.31.3
-
-2.12.1
-
-0.30.3
5.1
5.1
2.3
2.3
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.1
4.1
3.5
3.5
3.2
3.2
3.4
3.4
3.1
3.1
3.2
3.2
3.1
3.1
-การจ้างงานนอกภาคเกษตร (พันตาแหน่ง)
3,013
3,013
640
640
637
637
290
290
229
229
275
275
504
504
-ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
105.4
105.4
109.0
109.0
102.7
102.7
108.0
108.0
110.9
110.9
104.8
104.8
107.9
107.9
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
3.2
3.2
3.0
3.0
3.3
3.3
3.5
3.5
1.4
1.4
5.5
5.5
3.4
3.4
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Effective Fed Fund RateEffective Fed Fund Rate)
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
5.33
ยูโรโซน
(EZ
(EZ119))
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.5
0.5
0.1
0.1
0.1
0.1
-
-
-
-
-
-
0.5
0.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.10.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
45.0
45.0
43.2
43.2
43.9
43.9
44.4
44.4
46.6
46.6
46.5
46.5
46.6
46.6
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-1.11.1
-
-5.35.3
-
-5.15.1
-
-8.98.9
1.3
1.3
-
-
1.3
1.3
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-13.413.4
-
-22.222.2
-
-16.916.9
-
-18.918.9
-
-16.116.1
-
-
-
-16.116.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HICPHICP) (%yoyyoy)
5.4
5.4
5.0
5.0
2.7
2.7
2.9
2.9
2.8
2.8
2.6
2.6
2.7
2.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-1.91.9
-
-2.02.0
-
-0.80.8
-
-1.91.9
-
-0.80.8
-
-
-
-0.80.8
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RefinancingRefinancing)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
ญี่ปุ่น
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.9
1.9
1.6
1.6
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
1.9
1.9
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.80.8
0.1
0.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
49.0
49.0
49.2
49.2
48.3
48.3
47.9
47.9
48.0
48.0
47.2
47.2
47.6
47.6
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
2.8
2.8
1.1
1.1
3.7
3.7
9.7
9.7
11.9
11.9
7.8
7.8
9.7
9.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.07.0
-
-16.116.1
-
-10.410.4
-
-6.86.8
-
-9.79.7
0.5
0.5
-
-5.05.0
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.3
3.3
3.1
3.1
2.9
2.9
2.6
2.6
2.1
2.1
2.8
2.8
2.4
2.4
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
5.6
5.6
6.7
6.7
3.9
3.9
5.6
5.6
2.1
2.1
3.3
3.3
2.7
2.7
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight CallOvernight Call)
-
-0.10.1
-
-0.10.1
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
-
-0.100.10
จีน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.2
5.2
4.9
4.9
5.2
5.2
-
-
-
-
-
-
5.2
5.2
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.5
1.5
1.0
1.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.3
50.3
50.3
50.3
50.3
50.3
50.8
50.8
50.8
50.8
50.9
50.9
50.9
50.9
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.64.6
-
-9.99.9
-
-1.21.2
2.2
2.2
8.2
8.2
5.6
5.6
7.1
7.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-5.55.5
-
-8.58.5
0.8
0.8
0.1
0.1
15.4
15.4
-
-8.28.2
3.5
3.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
0.2
0.2
-
-0.10.1
-
-0.330.33
-
-0.30.3
-
-0.80.8
0.7
0.7
-
-0.80.8
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
8.0
8.0
4.2
4.2
8.3
8.3
8.0
8.0
-
-
-
-
#DIV/0!
#DIV/0!
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Policy ratePolicy rate)
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
2.50
ฮ่องกง
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
3.2
3.2
4.1
4.1
4.3
4.3
-
-
-
-
-
-
3.2
3.2
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.2
0.2
0.4
0.4
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.9
50.9
49.6
49.6
50.1
50.1
51.3
51.3
49.9
49.9
49.7
49.7
49.8
49.8
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.87.8
-
-6.06.0
6.5
6.5
11.0
11.0
33.6
33.6
-
-0.80.8
16.6
16.6
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-5.75.7
-
-2.82.8
7.1
7.1
11.6
11.6
21.7
21.7
-
-1.81.8
9.7
9.7
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.1
2.1
1.9
1.9
2.6
2.6
2.4
2.4
1.7
1.7
2.1
2.1
1.9
1.9
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
16.2
16.2
43.3
43.3
29.6
29.6
16.2
16.2
0.9
0.9
1.4
1.4
1.2
1.2
-อัตราดอกเบี้ย (HIBORHIBOR) (OvernightOvernight)
6.09
6.09
5.68
5.68
6.09
6.09
6.09
6.09
5.13
5.13
4.97
4.97
4.97
4.97
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
ธ.ค.66
ม.ค.67
ก.พ.67
YTD
YTD
เกาหลีใต้
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.3
1.3
1.4
1.4
2.2
2.2
-
-
-
-
-
-
1.4
1.4
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.6
0.6
0.6
0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.9
48.9
49.4
49.4
49.9
49.9
49.9
49.9
51.2
51.2
50.7
50.7
51.0
51.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.57.5
-
-9.79.7
5.7
5.7
5.0
5.0
18.2
18.2
4.8
4.8
8.3
8.3
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-12.112.1
-
-21.621.6
-
-10.710.7
-
-10.910.9
-
-7.97.9
-
-13.113.1
-
-11.111.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.6
3.6
3.1
3.1
3.4
3.4
3.2
3.2
2.8
2.8
3.1
3.1
3.0
3.0
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-1.51.5
-
-2.72.7
-
-1.91.9
-
-1.51.5
-
-3.33.3
-
-1.21.2
-
-2.22.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight CallOvernight Call)
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
3.50
ไต้หวัน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.3
1.3
2.1
2.1
4.9
4.9
-
-
-
-
-
-
1.3
1.3
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.9
1.9
2.3
2.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.3
46.3
44.9
44.9
47.7
47.7
47.1
47.1
48.8
48.8
48.6
48.6
48.7
48.7
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-9.89.8
-
-5.15.1
3.3
3.3
11.7
11.7
18.1
18.1
1.3
1.3
9.7
9.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-17.917.9
-
-19.119.1
-
-11.511.5
-
-6.86.8
19.0
19.0
-
-17.817.8
0.7
0.7
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.4
2.4
2.9
2.9
2.7
2.7
1.8
1.8
3.1
3.1
2.4
2.4
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
6.9
6.9
5.5
5.5
4.4
4.4
6.9
6.9
0.3
0.3
4.3
4.3
2.3
2.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RediscountRediscount)
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
1.88
สิงคโปร์
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.1
1.1
1.0
1.0
2.2
2.2
-
-
-
-
-
-
1.1
1.1
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
1.0
1.0
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
50.0
50.0
49.9
49.9
50.3
50.3
50.5
50.5
50.7
50.7
50.6
50.6
50.7
50.7
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (SGDSGD) (%yoyyoy)
-
-10.110.1
-
-15.615.6
0.2
0.2
-
-4.64.6
16.6
16.6
1.7
1.7
9.1
9.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (SGDSGD) (%yoyyoy)
-
-13.413.4
-
-17.417.4
-
-4.74.7
-
-9.39.3
11.2
11.2
5.6
5.6
8.5
8.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.8
4.8
4.1
4.1
4.0
4.0
3.7
3.7
3.4
3.4
3.1
3.1
3.1
3.1
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
2.2
2.2
2.2
2.2
0.3
0.3
2.2
2.2
1.3
1.3
-
-
1.3
1.3
-อัตราดอกเบี้ย (SIBORSIBOR) (OvernightOvernight)
3.62
3.62
3.82
3.82
3.62
3.62
3.62
3.62
3.48
3.48
3.75
3.75
3.75
3.75
อินโดนีเซีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.0
5.0
4.9
4.9
5.0
5.0
-
-
-
-
-
-
5.0
5.0
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.8
0.8
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
52.1
52.1
53.2
53.2
51.8
51.8
52.2
52.2
52.9
52.9
52.7
52.7
52.8
52.8
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-11.311.3
-
-18.618.6
-
-8.38.3
-
-5.85.8
-
-8.28.2
-
-9.49.4
-
-8.88.8
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-6.66.6
-
-11.911.9
-
-1.01.0
-
-3.83.8
0.3
0.3
15.8
15.8
7.5
7.5
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.7
3.7
2.9
2.9
2.7
2.7
2.8
2.8
2.6
2.6
2.8
2.8
-
-
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
1.5
1.5
1.4
1.4
1.5
1.5
1.5
1.5
1.1
1.1
2.3
2.3
1.7
1.7
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Reverse RepoReverse Repo)
6.00
6.00
5.75
5.75
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
6.00
มาเลเซีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
3.7
3.7
3.3
3.3
3.0
3.0
-
-
-
-
-
-
3.7
3.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
2.6
2.6
-
-2.12.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
47.8
47.8
47.5
47.5
47.5
47.5
47.9
47.9
49.0
49.0
49.5
49.5
49.3
49.3
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (MYRMYR) (%yoyyoy)
-
-8.08.0
-
-15.215.2
-
-6.96.9
-
-10.110.1
8.7
8.7
-
-0.80.8
3.9
3.9
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (MYRMYR) (%yoyyoy)
-
-6.46.4
-
-16.316.3
1.3
1.3
2.9
2.9
18.7
18.7
8.4
8.4
13.6
13.6
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.0
2.0
1.6
1.6
1.5
1.5
1.5
1.5
1.8
1.8
1.6
1.6
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
9.0
9.0
5.9
5.9
4.5
4.5
9.0
9.0
2.6
2.6
-
-
2.6
2.6
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (OvernightOvernight)
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
ธ.ค.66
ม.ค.67
ก.พ.67
YTD
YTD
ฟิลิปปินส์
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.5
5.5
6.0
6.0
5.5
5.5
-
-
-
-
-
-
5.5
5.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
3.8
3.8
2.1
2.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
51.8
51.8
50.7
50.7
52.2
52.2
51.5
51.5
50.9
50.9
51.0
51.0
51.0
51.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-7.67.6
-
-1.21.2
-
-10.710.7
-
-0.50.5
9.1
9.1
-
-
9.1
9.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-8.18.1
-
-14.114.1
-
-1.41.4
-
-3.53.5
-
-7.67.6
-
-
-
-7.67.6
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
6.0
6.0
5.4
5.4
4.3
4.3
3.9
3.9
2.8
2.8
3.4
3.4
3.1
3.1
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-0.30.3
-
-1.81.8
-
-4.24.2
-
-0.30.3
-
-5.15.1
-
-
-
-5.15.1
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (OvernightOvernight)
6.50
6.50
6.25
6.25
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
เวียดนาม
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
5.0
5.0
5.5
5.5
6.7
6.7
-
-
-
-
-
-
5.7
5.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
2.1
2.1
1.7
1.7
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.3
48.3
49.6
49.6
48.6
48.6
48.9
48.9
50.3
50.3
50.4
50.4
50.4
50.4
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.84.8
-
-2.42.4
6.9
6.9
8.1
8.1
46.0
46.0
-
-5.55.5
17.2
17.2
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-9.49.4
-
-5.85.8
6.0
6.0
7.8
7.8
34.4
34.4
0.0
0.0
14.3
14.3
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
3.3
3.3
2.9
2.9
3.5
3.5
3.6
3.6
3.4
3.4
4.0
4.0
3.7
3.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
0.0
0.0
6.9
6.9
8.7
8.7
10.4
10.4
8.1
8.1
8.3
8.3
8.2
8.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
อินเดีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
7.7
7.7
8.1
8.1
8.4
8.4
-
-
-
-
-
-
7.7
7.7
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.30.3
1.2
1.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
56.8
56.8
57.9
57.9
55.5
55.5
54.9
54.9
56.5
56.5
56.9
56.9
56.7
56.7
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.84.8
-
-3.23.2
1.0
1.0
0.8
0.8
3.1
3.1
11.9
11.9
7.5
7.5
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-6.46.4
-
-9.89.8
0.1
0.1
-
-4.84.8
1.0
1.0
12.2
12.2
6.6
6.6
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (WPIWPI) (%yoyyoy)
0.0
0.0
-
-0.60.6
0.3
0.3
0.9
0.9
0.3
0.3
0.2
0.2
0.2
0.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
6.50
ออสเตรเลีย
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
2.0
2.0
2.4
2.4
1.3
1.3
-
-
-
-
-
-
5.6
5.6
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.3
0.3
0.2
0.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.8
48.8
49.3
49.3
47.8
47.8
47.6
47.6
50.1
50.1
47.8
47.8
49.0
49.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-6.06.0
-
-11.111.1
-
-9.69.6
-
-9.39.3
-
-8.88.8
-
-2.42.4
-
-5.75.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
0.1
0.1
-
-2.32.3
-
-2.42.4
-
-6.26.2
-
-1.71.7
17.1
17.1
6.9
6.9
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.6
5.6
5.4
5.4
4.1
4.1
4.1
4.1
-
-
-
-
-
-
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
3.3
3.3
1.9
1.9
1.4
1.4
3.3
3.3
1.2
1.2
1.4
1.4
1.3
1.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo rateRepo rate)
4.35
4.35
4.10
4.10
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
4.35
สหราชอาณาจักร
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.1
0.1
0.2
0.2
-
-0.20.2
-
-
-
-
-
-
0.1
0.1
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.10.1
-
-0.30.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.4
46.4
44.2
44.2
46.1
46.1
46.2
46.2
47.0
47.0
47.5
47.5
47.3
47.3
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-2.92.9
-
-11.911.9
-
-13.113.1
-
-27.627.6
12.8
12.8
-
-
12.8
12.8
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-4.54.5
-
-10.810.8
-
-5.85.8
-
-12.512.5
-
-8.38.3
-
-
-
-8.38.3
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
7.3
7.3
6.7
6.7
4.2
4.2
4.0
4.0
4.0
4.0
3.4
3.4
3.7
3.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-2.82.8
-
-1.91.9
-
-1.61.6
-
-2.72.7
0.5
0.5
0.1
0.1
0.3
0.3
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo RateRepo Rate)
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
5.25
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ปี 66
Q
Q3/666
Q
Q4/66/66
ธ.ค.66
ม.ค.67
ก.พ.67
YTD
YTD
เยอรมนี
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
-
-0.30.3
-
-0.30.3
-
-0.20.2
-
-
-
-
-
-
-
-0.30.3
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.00.0
-
-0.30.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
42.6
42.6
39.2
39.2
42.2
42.2
43.3
43.3
45.5
45.5
42.5
42.5
44.0
44.0
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-6.16.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-1.31.3
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-9.49.4
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-7.17.1
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.9
5.9
5.6
5.6
3.6
3.6
3.7
3.7
2.9
2.9
2.5
2.5
2.7
2.7
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
-
-3.33.3
-
-2.72.7
-
-0.70.7
-
-0.40.4
-
-1.21.2
-
-2.72.7
-
-1.91.9
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
สเปน
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
2.5
2.5
1.9
1.9
2.0
2.0
-
-
-
-
-
-
2.5
2.5
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.4
0.4
0.6
0.6
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
48.0
48.0
47.3
47.3
45.9
45.9
46.2
46.2
49.2
49.2
51.5
51.5
50.4
50.4
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-8.38.3
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-0.10.1
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-7.17.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-4.44.4
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (HCPIHCPI) (%yoyyoy)
3.5
3.5
2.8
2.8
3.3
3.3
3.1
3.1
3.4
3.4
2.8
2.8
3.1
3.1
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
2.5
2.5
2.0
2.0
2.9
2.9
2.7
2.7
0.5
0.5
1.8
1.8
6.1
6.1
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
ฝรั่งเศส
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
0.9
0.9
0.6
0.6
0.7
0.7
-
-
-
-
-
-
0.9
0.9
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
-
-0.00.0
0.1
0.1
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
45.5
45.5
45.1
45.1
42.6
42.6
42.1
42.1
43.1
43.1
47.1
47.1
45.1
45.1
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-3.83.8
-
-
-
-
-
-
-
-
2.8
2.8
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-8.08.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-3.43.4
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
4.9
4.9
4.7
4.7
3.7
3.7
3.7
3.7
3.1
3.1
3.0
3.0
3.0
3.0
-
-ยอดค้าปลีก (%%yoyyoy))
-
-1.91.9
-
-1.61.6
-
-1.01.0
-
-1.11.1
-
-
-
-
-
-1.91.9
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.5
4.5
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
อิตาลี
-Real GDP Real GDP (%yoyyoy)
1.0
1.0
0.7
0.7
0.6
0.6
-
-
-
-
-
-
1.0
1.0
-Real GDP Real GDP (%qoq_saqoq_sa)
-
-
0.2
0.2
0.2
0.2
-
-
-
-
-
-
-
-
-ดัชนี PMI for Manufacturing (PMI for Manufacturing (ระดับ))
46.8
46.8
45.6
45.6
44.9
44.9
45.3
45.3
48.5
48.5
48.7
48.7
48.6
48.6
-มูลค่าการส่งออกสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-4.64.6
-
-
-
-
-
-
-
-
0.7
0.7
-มูลค่าการนาเข้าสินค้า (%yoyyoy)
-
-
-
-13.913.9
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-7.37.3
-อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (CPICPI) (%yoyyoy)
5.6
5.6
5.6
5.6
1.0
1.0
0.6
0.6
0.8
0.8
0.8
0.8
0.4
0.4
-ยอดค้าปลีก (%yoyyoy)
2.9
2.9
2.3
2.3
1.7
1.7
1.6
1.6
-
-0.10.1
-
-
3.2
3.2
-อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Main Refinancing (Main Refinancing Operations)Operations)
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
4.50
Global Economic Indicators
Global Economic Indicators
ที่มา: : ฐานข้อมูล CEIC CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
Contributors
Contributors
Macroeconomic Policy Bureau
Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy OfficeFiscal Policy Office
Ministry of Finance
Ministry of Finance0202--273273--9020 Ext. 32599020 Ext. 3259
ดร.พิสิทธิ์ พัวพันธ์
ผู้อำนวยกำรกองนโยบำย
เศรษฐกิจมหภำค
ดร.พงศ์นคร โภชากรณ์
ผู้เชี่ยวชำญเฉพำ
ด้ำนเศรษฐกิจมหภำค
ดร.ปาริฉัตร คลิ้งทองผู้อำนวยกำรส่วนกำรวิเครำห์เศรษฐกิจกำรเงินและต่ำงประเทศ
ดร.นรพัชร์ อัศววัลลภ
ผู้อำนวยกำรส่วนนวัตกรรมข้อมูลเศรษฐกิจและงำนวิจัย
ดร.ยุทธภูมิ จารุเศร์นี
ผู้อำนวยกำรส่วนแบบจำลอง
และประมำณกำรเศรษฐกิจกำรคลัง
ณัฐพล ศรีพจนารถ
ผู้อำนวยกำรส่วนกำรวิเครำห์
เศรษฐกิจมหภำค
Contributors
Contributors
Macroeconomic Policy Bureau
Macroeconomic Policy Bureau Fiscal Policy OfficeFiscal Policy Office
Ministry of Finance
Ministry of Finance0202--273273--9020 9020 Ext. Ext. 32593259
ศักดิ์ส ทธิ์ สว่างศุข
ชานน ลิมป์ประสิทธิพร
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)(GDP)
ศิวัจน์ จิรกัลป์ยาพัฒน์
อุตสำหกรรม
วรรณวิภาแสงสารพันธ์
เกษตรกรรม
พิมพาภรณ์ สุทธหลวง
กำรท่องเที่ยว
เมธาวี ชื่นบาล
กำรบริโภค
ลภัส แจ่มแจ้ง
กำรลงทุน
ฐิตินันท์ เลิศกาญจนพร
กำรคลัง
ภัทราพร คุ้มสะอาด
กำรค้ำระหว่ำงประเทศ
วาสนา บุญพุ่ม
เสถียรภำพเศรษฐกิจ
ธรรมฤทธิ์ คุณหิรัญ
ธนพล กาลเนาวกุล
จิรัฐกาล รอดภัยปวง
เศรษฐกิจต่ำงประเทศ
ญาณพัฒน์ สุขสาราญ
กำรเงิน ตลำดอัตรำแลกเปลี่ยน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง