ฉบับที่ 14/2567 วันที่ 29 เมษายน 2567
ภาวะเศรษฐกิจการคลังประจาเดือนมีนาคม 2567
?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนมีนาคม 2567 มีสัญญาณชะลอตัวจากการส่งออกสินค้าที่หดตัวสูง การบริโภคภาคเอกชน
และการลงทุนภาคเอกชนที่หดตัวจากเดือนก่อน อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยวยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยว
ชาวต่างประเทศและผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ทั้งนี้ ยังคงต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า กาลังซื้อของผู้บริโภค และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิดต่อไป?
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจการคลังประจาเดือนมีนาคม
2567 ว่า ?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนมีนาคม 2567 มีสัญญาณชะลอตัวจากการส่งออกสินค้าที่หดตัวสูง การบริโภค
ภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนที่หดตัวจากเดือนก่อน อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยวยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากจานวน
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศและผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ทั้งนี้ ยังคงต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า กาลังซื้อของผู้บริโภค และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิดต่อไป?
โดยมีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณหดตัวจากเดือนก่อนหน้า: โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับ
ราคาคงที่ ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 0.2 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล
ทางฤดูกาลที่ร้อยละ -3.4 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่งและยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วง
เดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -24.8 และ -17.5 ตามลาดับ และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -8.5 และ
-5.7 ตามลาดับ และดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ในเดือนมีนาคม 2567 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 63.0 จากระดับ 63.8 ในเดือนก่อน
เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า อย่างไรก็ดีรายได้เกษตรกรที่แท้จริง ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วง
เดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 2.8
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณหดตัวจากเดือนก่อนหน้า: โดยการลงทุนภาคเอกชน
ในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากสะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน
ปีก่อนที่ร้อยละ 12.0 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -12.2 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์
ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -32.8 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ที่ร้อยละ -6.2 สาหรับการลงทุนภาคเอกชนในหมวดการก่อสร้าง สะท้อนจากปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศ ในเดือน
มีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -11.8 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ -2.4
ขณะที่ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ ?13.5
สหรัฐ ในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ 24,960.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -10.9 และหากพิจารณา
เฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า หดตัวลงที่ร้อยละ -5.6 เนื่องจาก
ปัจจัยฐานสูงจากช่วงเดียวกันปีก่อน ทาให้สินค้าในหมวดน้าตาลทราย ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และ
เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หดตัวลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -45.6 -16.7 -12.4 และ -11.8 ตามลาดับ
อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้ายางพารา ข้าว และอาหารสัตว์เลี้ยง ยังคงขยายตัวที่ร้อยละ 36.9 30.6 และ 29.6 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณา
มูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวลดลงในหลายตลาด อาทิ ตลาดญี่ปุ่น
- 2 -
อาเซียน--9 และจีน ที่ลดลงร้อยละ --19.3 --15.7 และ --9.7 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดทวีปออสเตรเลีย และสหรัฐฯ ยังคงขยายตัวร้อยละ 13.5 และ 2.5 ตามลาดับ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน สาหรับภาคบริการมีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนมีนาคม 2567 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 2.98 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวต่อเนื่องจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 31.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.3 โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากจีน มาเลเซีย รัสเซีย เกาหลีใต้ และอินเดีย ตามลาดับ เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนมีนาคม 2567 จานวน 22.4 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนที่ร้อยละ 9.9 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 9.1 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --4.6 และลดลงเมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --1.3 จากการลดลงของผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือก ยางพารา และมันสาปะหลัง อย่างไรก็ดี ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ยังคงขยายตัว สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนมีนาคม 2567 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 92.4 จากระดับ 90.0 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นต้วต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวและการขยายตัวของภาคการส่งออก ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักของไทย
เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ --0.47 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.37 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 อยู่ที่ร้อยละ 62.5 ต่อ GDP1 ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจาก ทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ในระดับสูงที่ 223.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
1GDP คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross domestic product: GDP) - 3 - ?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนมีนาคม 2567 มีสัญญาณชะลอตัวจากการส่งออกสินค้าที่หดตัวสูง การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนที่หดตัวจากเดือนก่อน อย่างไรก็ดี ภาคการท่องเที่ยวยังคงขยายตัวต่อเนื่องจากจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศและผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ทั้งนี้ ยังคงต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายใน และภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้า กาลังซื้อของผู้บริโภค และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรม อย่างใกล้ชิดต่อไป? 1. เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณหดตัวจากเดือนก่อนหน้า: โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 0.2 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาลที่ร้อยละ --3.4 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่งและยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -24.8 และ --17.5 ตามลาดับ และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --8.5 และ --5.7 ตามลาดับ และดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ในเดือนมีนาคม 2567 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 63.0 จากระดับ 63.8 ในเดือนก่อน เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า อย่างไรก็ดีรายได้เกษตรกรที่แท้จริง ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 2.8 เครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy) ?1.7% ?1.7% 0.5% 0.5% ?2.7% ?2.7% ?6.4% ?6.4% 1.9% 1.9% 0.9% 5.7% 5.7% 0.2% 0.9% %qoq_SA / %mom_SA 2.7% 2.7% ?2.8% ?2.8% ?1.6% ?1.6% 3.9% 3.9% 1.5% 5.7% 5.7% ?3.4% ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง 10.3% 10.3% 2.3% 2.3% 17.2% 17.2% 10.5% 10.5% 13.0% 13.0% ?15.3% ?15.3% - -20.1% ?24.8% ?24.8% ?15.3% %qoq_SA / %mom_SA 24.5% 24.5% 7.0% ?5.3% ?10.0% ?8.0 ?8.0%% - -10.7%10.7% ?8.5% ?8.5% ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY) 4.6% 4.6% 13.5% 6.6% 6.6% 0.3% 0.3% ?2.3% ?2.3% ?10.2% ?10.2% ?10.0% ?17.5% ?10.2% %qoq_SA / %mom_SA 4.9% ?1.2% ?1.0% ?4.8% ?3.4% ?5.1% ?5.7% ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค (%YoY) ?0.7% ?0.8% ?4.3% ?0.1% 2.5% ?0.7% 10.4% ?9.0% ?0.7% %qoq_SA / %mom_SA 5.8% ?1.9% 1.8% ?2.7% 1.9% 11.0% ?16.5% ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ) 56.7 56.7 52.7 52.7 55.8 55.8 57.1 57.1 61.0 61.0 63.2 63.2 63.8 63.8 63.0 63.0 63.2 63.2 รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY) ?2.1% ?2.1% ?2.5% ?2.5% ?5.4% ?5.4% ?0.8% ?0.8% ?0.6% ?0.6% 1.1% 1.1% 0.0% 0.0% 2.8% 2.8% 1.1% 1.1% 2. เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณหดตัวจากเดือนก่อนหน้า: โดยการลงทุนภาคเอกชน ในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากสะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนมีนาคม 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนที่ร้อยละ 12.0 แต่ลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --12.2 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --32.8 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ --6.2 สาหรับการลงทุนภาคเอกชนในหมวดการก่อสร้าง สะท้อนจากปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศ ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --11.8 และลดลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --2.4 ขณะที่ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ ?13.5 เอกสารแนบ - 4 - เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน 2565 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD เครื่องชี้การลงทุนในเครื่องจักร ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน (%YoY) 3.8% 3.8% ?4.7% ?4.7% 1.2% 1.2% 3.6% 3.6% 16.5% 16.5% 16.6% 27.1% 27.1% 12.0% 16.6% %qoq_SA / %mom_SA 6.4 6.4%% 6.1% 6.1% ? ?1.81.8%% 5.3 5.3%% 6.1% 18.0 18.0%% -12.2% ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ (%YoY) ?17.3% ?17.3% ?10.2% ?10.2% ?12.8% ?12.8% ?22.9% ?22.9% ?23.3% ?23.3% - -29.7% - -29.4% - -32.8% -29.7% %qoq_SA / %mom_SA 0.7% 0.7% ?5.5% ?5.5% ?8.5% ?8.5% ?11.5% ?11.5% - -4.7% - -4.3% - -6.2% เครื่องชี้การลงทุนก่อสร้าง ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ (%YoY) ?2.4% ?2.4% 19.3% 19.3% ?5.1% ?5.1% 0.4% 0.4% ?17.5% ?17.5% - -11.5% ?15.4% ?15.4% -13.5% -11.5% %qoq_SA / %mom_SA 1.1 1.1%% - -5.25.2%% 0.0 0.0%% ?1 ?133.8%.8% 8.3% ?8. ?8.22%% -2.5% ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY) 1.2% 1.2% ?3.3% ?3.3% 3.9% 3.9% 5.0% 5.0% ?0.4% ?0.4% -9.1% ?7.7% ?11.8% ?9.1% %qoq_SA / %mom_SA 2.0% 2.0% 2.5% 2.5% 0.1% 0.1% ?4.6% ?4.6% -7.0% ?0.5% ?2.4% ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY) 0.1% 0.1% 2.2% 2.2% ?1.2% ?1.2% ?0.2% ?0.2% ?0.2% ?0.2% -1.1% ?1.1% ?1.1% - -1.2% ?1.1% ?1.1% 3. การใช้จ่ายงบประมาณ: การเบิกจ่ายงบประมาณ ในเดือนมีนาคม 2567 เบิกจ่ายได้รวมจานวน 205.3 พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 193.1 พันล้านบาท แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 178.2 พันล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 14.9 พันล้านบาท และเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 12.2 พันล้านบาท ทาให้ ใน 6 เดือนของปีงบประมาณ 2567 มีการเบิกจ่ายรวม 1,571.0 พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 1,480.9 พันล้านบาท แบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,388.6 พันล้านบาท รายจ่ายลงทุน 92.2 พันล้านบาท และการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 90.0 พันล้านบาท เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2566 FY2566 FY2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 ก.พ. มี.ค. FY/YTD รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท) 3,088.4 982.2 709.7 742.1 654.3 910.1 570.7 171.9 193.1 1,480.9 ษาเด๑ดยน %YoY 5.3% - -0.1% 17.1% 9.3% - -1.4% - -7.3% - -19.6% - -29.4% - -22.2% - -12.5% รายจ่ายประจา (พันล้านบาท) 2,610.2 858.7 600.5 625.2 525.6 859.1 529.5 158.7 178.2 1,388.6 %YoY 3.7% - -3.1% 16.5% 9.5% - -3.4% 0.0% - -11.8% - -23.9% - -11.3% - -4.8% รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท) 478.1 123.4 109.2 116.8 128.6 51.0 41.2 13.1 14.9 92.2 %YoY 15.0% 27.3% 20.0% 7.8% 7.7% - -58.6% - -62.2% - -62.2% - -68.6% - -60.3% รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท) 173.9 58.9 44.5 27.9 42.5 53.5 36.4 11.2 12.2 90.0 %YoY - -18.6% - -22.0% - -22.7% - -12.2% - -12.6% - -9.1% - -18.1% - -13.1% - -25.0% - -12.9% รายจ่ายรวม (พันล้านบาท) 3,262.3 1,041.1 754.2 770.0 696.8 963.7 607.2 183.1 205.3 1,571.0 %YoY 3.7% - -1.7% 13.6% 8.3% - -2.1% - -7.4% - -19.5% - -28.6% - -22.4% - -12.5% 4. มูลค่าการส่งออกสินค้าหดตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ารวมในรูปเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ 24,960.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --10.9 และหากพิจารณาเฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า หดตัวลงที่ร้อยละ --5.6 เนื่องจากปัจจัยฐานสูงจากช่วงเดียวกันปีก่อน ทาให้สินค้าในหมวดน้าตาลทราย ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และ - 5 - เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หดตัวลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --45.6 --16.7 --12.4 และ --11.8 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้ายางพารา ข้าว และอาหารสัตว์เลี้ยง ยังคงขยายตัวที่ร้อยละ 36.9 30.6 และ 29.6 ทั้งนี้ เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวลดลงในหลายตลาด อาทิ ตลาดญี่ปุ่น อาเซียน--9 และจีน ที่ลดลงร้อยละ --19.3 --15.7 และ --9.7 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดทวีปออสเตรเลีย และสหรัฐฯ ยังคงขยายตัวร้อยละ 13.5 และ 2.5 ตามลาดับ ประเทศคู่ค้าหลัก 16 ประเทศ สัดส่วน 2566 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ส่งออกไปทั้งโลก 100.0% 100.0% - -1.0%1.0% - -3.3%3.3% - -5.2%5.2% - -0.5%0.5% 5.8% 5.8% - -0.20.2%% 3.6% 3.6% - -10.910.9%% - -0.20.2%% สหรัฐฯ 17.2% 17.2% 2.8% 2.8% - -3.7%3.7% 1.7% 1.7% 3.5% 3.5% 10.2% 10.2% 9.9 9.9%% 15.5% 15.5% 2.5 2.5%% 9.9 9.9%% จีน 12.0% 12.0% - -0.8%0.8% - -7.2%7.2% - -0.5%0.5% 4.3% 4.3% 0.4% 0.4% - -5.15.1%% - -5.7%5.7% - -9.79.7%% - -5.15.1%% ญี่ปุ่น 8.7% 8.7% 0.1% 0.1% - -0.3%0.3% - -2.4%2.4% 2.9% 2.9% 0.0% 0.0% - -9.09.0%% - -5.8%5.8% - -19.319.3%% - -9.09.0%% สหภาพยุโรป (15) 8.1% 8.1% - -4.0%4.0% - -1.8%1.8% 0.8% 0.8% - -8.3%8.3% - -6.9%6.9% 0.7 0.7%% 1.2% 1.2% - -2.12.1%% 0.7 0.7%% ทวีปออสเตรเลีย 4.9% 4.9% 3.3% 3.3% - -9.6%9.6% 9.5% 9.5% 3.9% 3.9% 10.0% 10.0% 22.0 22.0%% 26.4% 26.4% 13.5 13.5%% 22.0 22.0%% เวียดนาม 3.9% 3.9% - -15.6%15.6% - -10.1%10.1% - -22.4%22.4% - -18.0%18.0% - -11.0%11.0% - -9.59.5%% - -18.4%18.4% - -7.97.9%% - -9.59.5%% มาเลเซีย 4.2% 4.2% - -6.3%6.3% - -8.0%8.0% - -7.7%7.7% - -13.4%13.4% 5.9% 5.9% - -3.03.0%% 3.0% 3.0% - -12.812.8%% - -3.03.0%% ฮ่องกง 3.8% 3.8% 8.5% 8.5% - -3.3%3.3% - -9.5%9.5% 34.7% 34.7% 18.8% 18.8% 23.5 23.5%% 15.5% 15.5% 5.3 5.3%% 23.5 23.5%% สิงคโปร์ 3.6% 3.6% - -0.4%0.4% - -2.3%2.3% - -16.6%16.6% - -1.5%1.5% 26.8% 26.8% 1.8 1.8%% - -2.6%2.6% - -31.531.5%% 1.8 1.8%% อินโดนีเซีย 3.5% 3.5% - -2.9%2.9% 2.3% 2.3% - -15.8%15.8% - -9.9%9.9% 16.3% 16.3% - -13.513.5%% - -0.2%0.2% - -39.739.7%% - -13.513.5%% ตะวันออกกลาง 3.9% 3.9% 1.6% 1.6% 19.8% 19.8% - -3.7%3.7% - -3.7%3.7% - -4.3%4.3% - -5.15.1%% - -9.9%9.9% - -7.37.3%% - -5.15.1%% อินเดีย 3.6% 3.6% - -3.9%3.9% 3.9% 3.9% - -19.4%19.4% 1.6% 1.6% 1.3% 1.3% - -3.53.5%% - -7.0%7.0% - -5.95.9%% - -3.53.5%% ฟิลิปปินส์ 2.8% 2.8% 6.1% 6.1% 8.0% 8.0% - -7.9%7.9% 9.0% 9.0% 16.7% 16.7% - -6.06.0%% - -7.8%7.8% - -17.417.4%% - -6.06.0%% แอฟริกา 2.4% 2.4% 4.7% 4.7% 9.9% 9.9% - -8.8%8.8% 10.5 10.5%% 7.8% 7.8% - -17.817.8%% - -18.2%18.2% - -11.911.9%% - -17.817.8%% เกาหลีใต้ 2.1% 2.1% - -5.2%5.2% - -0.7%0.7% - -10.4%10.4% - -11.3%11.3% 3.8% 3.8% - -7.57.5%% - -7.7%7.7% - -6.06.0%% - -7.57.5%% ไต้หวัน 1.7% 1.7% 1.6% 1.6% - -2.6%2.6% - -7.3%7.3% 5.2% 5.2% 13.6% 13.6% - -2.52.5%% 3.9% 3.9% - -13.013.0%% - -2.52.5%% อาเซียน--9 23.5% 23.5% - -7.1%7.1% - -3.0%3.0% - -15.2%15.2% - -12.7%12.7% 4.6% 4.6% - -0.50.5%% 1.2% 1.2% - -15.715.7%% - -0.50.5%% อาเซียน--5 1 14.1%4.1% - -1.6%1.6% - -1.0%1.0% - -12.2%12.2% - -5.5%5.5% 15.7% 15.7% - -5.25.2%% - -1.2%1.2% - -26.126.1%% - -5.25.2%% อินโดจีน--4 9.4% 9.4% - -14.3%14.3% - -5.7%5.7% - -19.2%19.2% - -22.0%22.0% - -8.9%8.9% - -17.917.9%% 4.5% 4.5% 0.5%% 6.5%% 5. เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน สาหรับภาคบริการมีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนมีนาคม 2567 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 2.98 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวต่อเนื่องจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 31.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.3 โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากจีน มาเลเซีย รัสเซีย เกาหลีใต้ และอินเดีย ตามลาดับ เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนมีนาคม 2567 จานวน 22.4 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนที่ร้อยละ 9.9 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 9.1 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือนมีนาคม 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --4.6 และลดลงเมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ --1.3 จากการลดลงของผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือก ยางพารา และมันสาปะหลัง อย่างไรก็ดี ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ยังคงขยายตัว สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนมีนาคม 2567 ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 92.4 จากระดับ 90.0 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการฟื้นต้วต่อเนื่องของภาคการท่องเที่ยวและการขยายตัวของภาคการส่งออก ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าหลักของไทย - 6 - เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านอุปทาน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม (%YoY) 0.7% 0.7% 2.2% 2.2% 1.2% 1.2% 1.2% 1.2% ?1.0% ?1.0% ?4.9% ?4.9% ?5. ?5.9%9% ?4.6% ?4.6% ?4.9% ?4.9% %qoq_SA / %mom_SA 2.1% 2.1% 0.7% 0.7% ?1.8% ?1.8% ?1.7% ?1.7% ?2.1% ?2.1% ?0.2% ?0.2% ?1.3% ?1.3% ?2.1% ?2.1% ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY) - -3.8%3.8% ?2.1% ?4.9% ?5.3% - -2.9%2.9% - -2.9%* -2.8% n.a. - -2.9%2.9%** %qoq_SA / %mom_SA ?0.9% ?2.6% 0.2% 0.2% ?1.3% n.a. 0.5% n.a. อัตราการใช้กาลังการผลิต (%) 59 59.6%.6% 64.2% 64.2% 58.6% 58.4% 57.4% 59.5%* 59.8% n.a. 59.5%* ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรร (ระดับ) 92.6 92.6 96 96.0 93.9 93.9 91.2 91.2 89.4 89.4 91.0 90.0 92.4 91.0 นักท่องเที่ยวต่างชาติ (%YoY) 154.4% 154.4% 1,237.4% 1,237.4% 311.4% 311.4% 97.9% 97.9% 49.1% 49.1% 43.5% 43.5% 58.6% 58.6% 31.4% 31.4% 43.5% 43.5% %qoq_SA / %mom_SA ?73.4% ?73.4% 45 459.7%9.7% ?1.1% ?1.1% ?6.8% ?6.8% ?68.6% ?68.6% 14.5% 14.5% 1.3% 1.3% ?68.6% ?68.6% จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY) 22.7% 22.7% 36.0% 36.0% 24.9% 24.9% 18.2% 18.2% 14.3% 14.3% 8.6% 9.1% 9.9% 8.6% %qoq_SA / %mom_SA 1 13.83.8%% 27.4 27.4%% - -2.62.6%% - -115.75.7 %% 2.0% 8.0% 9.1% หมายเหตุ * 2 เดือนแรกในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 6. เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ --0.47 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.37 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 อยู่ที่ร้อยละ 62.5 ต่อ GDP ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจาก ทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ในระดับสูงที่ 223.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ภายในประเทศ อัตราการว่างงาน (%) 1.0% 1.0% 1.1% 1.0% 0.8% 1.0% 1.0% 1.0% 1.0% สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%) 1.74% 1.94% 2.13% 1.93% 1.74% 1.78% 1.72% 1.84% 1.84% อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY) 1.23% 3.88% 1.14% 0.52% ?0.53% ?0.78% ?0.78% ?0.77% ?0.47% ?0.47% ?0.78% อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY) 1.27% 2.23% 1.51% 0.76% 0.60% 0.44% 0.44% 0.43% 0.37% 0.37% 0.44% 0.44% หนี้สาธารณะต่อ GDP (%) 61.9% 61.3% 61.3% 61.6% 61.6% 62.4% 62.4% 61.9% 62.5% 62.5% n.a. 62.5% ภายนอกประเทศ ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 6.6 3.5 ?1.1 2.6 1.5 1.8* 2.0 n.a. 1.8* ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 224.5 224.5 224.5 218.2 218.2 211.8 211.8 224.5 252.9 251.8 223.4 223.4 ฐานะสุทธิ Forward (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 30.1 27.1 30.5 29.8 30.1 29.6 29.4 29.6 29.6 หมายเหตุ * 2 เดือนแรกในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 1GDP คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross domestic product: GDP) - 7 - ตารางที่ 1 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ในเดือนมีนาคม 2567 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ภาวะเศรษฐกิจภายนอก ราคาน้ามันดิบ Dubai (ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล) /7 82.0 80.3 77.7 86.8 89.7 81.6 81.2 84.7 81.6 อัตราดอกเบี้ย Federal Fund (%)/7 5.25?5.50 4.75-5.00 5.00?5.25 5.25?5.50 5.25?5.50 5.25?5.50 5.25?5.50 5.25?5.50 5.25?5.50 ด้านอุปสงค์ การบริโภคภาคเอกชน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ (%YoY)/1 -1.7 0.5 ?2.7 ?6.4 1.9 0.9 5.7 0.2 0.9 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง (%YoY)/13 10.3 2.3 17.2 10.5 13.0 -15.3 -20.1 - -24.8 -15.3 ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)/12 4.6 13.5 6.6 0.3 ?2.3 - -10.2 -10.0 - -17.5 -10.2 ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /14 -0.7 ?0.8 ?4.3 ?0.1 2.5 - -0.7 10.4 - -9.0 - -0.7 ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจโดยรวม (ระดับ) /5 56.7 52.7 55.8 57.1 61.0 63.2 63.8 63.0 63.2 การลงทุนภาคเอกชน ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุนในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY)/14 3.8 ?4.7 1.2 3.6 16.5 16.6 27.1 12.0 16.6 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ (YoY)/13 - -17.3 ?10.2 ?12.8 ?22.9 ?23.3 - -29.7 -29.4 - -32.8 - -29.7 ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์รวม (%YoY) /1 -2.4 19.3 ?5.1 0.4 ?17.5 ?11.5 ?15.4 -13.5 ?11.5 ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY) /14 1.2 ?3.3 3.9 5.0 ?0.4 ?9.1 ?7.7 ?11.8 ?9.1 ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY) /4 0.1 2.2 ?1.2 ?0.2 ?0.2 - -1.1 ?1.1 - -1.2 ?1.1 การค้าระหว่างประเทศ มูลค่าการส่งออก (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ); ระบบศุลกากร/4 284.6 71.2 71.6 71.9 69.9 71.0 23.4 25.0 71.0 (%YoY) /4 ?1.0 ?3.3 ?5.2 ?0.5 5.8 - -0.2 3.6 - -10.9 - -0.2 ราคาสินค้าส่งออก (%YoY) /4 1.2 2.0 0.3 1.1 1.4 1.3 1.3 1.6 1.3 ปริมาณการส่งออก (%YoY) /14 ?2.1 ?5.1 ?5.4 ?1.6 4.4 - -1.5 2.3 - -12.2 - -1.5 มูลค่าการนาเข้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ระบบศุลกากร/4 289.8 72.7 73.5 71.4 72.1 75.5 23.9 26.1 75.5 (%YoY) /4 ?3.7 ?0.7 ?7.7 ?10.7 5.8 3.8 3.2 5.6 3.8 ราคาสินค้านาเข้า (%YoY) /4 ?0.8 2 ?3.1 ?1.7 ?0.5 -1.1 -1.6 0.1 -1.1 ปริมาณการนาเข้า (%YoY) /14 ?2.9 ?2.6 ?4.7 ?9.2 6.3 5.0 4.8 5.5 5.0 ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ);ระบบศุลกากร/4 ?5.2 ?1.5 ?1.9 0.5 ?2.3 - -4.5 - -0.5 - -1.2 - -4.5 ด้านอุปทาน ภาคการเกษตร ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร (%YoY) /6 0.7 2.2 1.2 1.2 ?1.0 ?4.9 ?5.9 ?4.6 ?4.9 ดัชนีราคาสินค้าเกษตร (%YoY) /6 ?2.0 ?1.2 ?5.3 ?1.6 0.1 5.6 5.5 7.4 5.6 รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY) /14 ?2.1 ?2.5 ?5.4 ?0.8 ?0.6 1.1 0.0 2.8 1.1 การจ้างงานภาคเกษตร (%YoY) /3 1.1 1.6 ?0.2 2.0 1.0 5.2p - -5.7 - -4.7 - -5.2 ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY) /9 -3.8 ?2.1 ?4.9 ?5.3 ?2.9 -2.9 -2.8 n.a. -2.9 มูลค่าการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /4 -9.7 ?5.0 ?12.5 ?18.4 ?0.6 4.7 6.5 - -1.9 4.7 - 8 - เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 ก.พ. มี.ค. YTD ปริมาณการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /14 -11.8 ?7.5 ?14.1 ?20.2 ?3.2 3.1 4.7 ?3.7 3.1 อัตราการใช้กาลังการผลิต (%) /9 59.6 64.2 58.6 58.4 57.4 59.5 59.8 n.a. 59.5 การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม (%YoY) /3 0.4 -0.1 1.8 1.0 3.5 1.4p 3.7 1.5 1.4 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)/8 92.6 96 93.9 91.2 89.4 91.0 90.3 92.4 91.0 ภาคบริการ จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ(ล้านคน)/10 28.15 6.53 6.44 7.09 8.1 9.37 3.35 2.96 9.37 (%YoY) /14 154.4 1,237.40 311.4 97.9 49.1 43.5 58.6 31.4 43.5 จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY)/10 22.7 36 24.9 18.2 14.3 8.6 9.1 9.9 8.6 การจ้างงานภาคบริการ (%YoY) /3 2.8 4.0 2.9 1.0 3.5 1.4p 1.8 2.4 1.4 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย (บาท/ดอลลาร์สหรัฐ)/2 34.8 33.9 34.5 35.2 35.7 35.7 35.9 36.0 35.7 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2 6.6 3.5 ?1.1 2.6 1.5 1.8* 2.0 n.a. 1.8* ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2 224.5 224.5 218.2 211.8 224.5 252.9 251.8 223.4 223.4 ฐานะซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าสุทธิ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2 30.1 27.1 30.5 29.8 30.1 29.6 29.4 29.6 29.6 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจในประเทศ อัตราการว่างงาน (%) /3 1.0 1.0 1.1 1.0 0.8 1.0 1.1 1.0 1.0 สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%) 1.74 1.94 2.13 1.93 1.74 1.78 1.72 1.84 1.84 ดัชนีราคาผู้ผลิต (%YoY) /4 ?2.4 0.7 ?5.0 ?3.4 ?1.8 1.2 1.2 2.1 1.2 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY) /4 1.23 3.88 1.14 0.52 ?0.53 ?0.78 ?0.77 ?0.47 ?0.78 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY) /4 1.27 2.23 1.51 0.76 0.60 0.44 0.43 0.37 0.44 หนี้สาธารณะต่อ GDP(%) /1 61.9 61.3 61.6 62.4 61.9 62.5 62.5 n.a. 62.5 หมายเหตุ * 2 เดือนแรกในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2566 FY2566 FY2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 ก.พ. มี.ค. FY/YTD รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท) 3,088.4 982.2 709.7 742.1 654.3 910.1 570.7 171.9 193.1 1,480.9 %YoY 5.3% - -0.1% 17.1% 9.3% - -1.4% - -7.3% -19.6% -29.4% - -22.2 -12.5% รายจ่ายประจา (พันล้านบาท) 2,610.2 858.7 600.5 625.2 525.6 859.1 529.5 158.7 178.2 1,388.6 %YoY 3.7% - -3.1% 16.5% 9.5% - -3.4% 0.0% -11.8% -23.9% - -11.3 -4.8% รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท) 478.1 123.4 109.2 116.8 128.6 51.0 41.2 13.1 14.9 92.2 %YoY 15.0% 27.3% 20.0% 7.80% 7.7% - -58.6% -62.2% -62.2% - -68.6 -60.3% รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท) 173.9 58.9 44.5 27.9 42.5 53.5 36.4 11.2 12.2 90.0 %YoY - -18.6% - -22.0% - -22.7% - -12.2% - -12.6% - -9.1% -18.1% -13.1% - -25.0 -12.9% รายจ่ายรวม (พันล้านบาท) 3,262.3 1,041.1 754.2 770.0 696.8 963.7 607.2 183.1 205.3 1,571.0 %YoY 3.7% - -1.7% 13.6% 8.3% - -2.1% - -7.4% -19.5% -28.6% - -22.4 -12.5% ที่มา: 1/กระทรวงการคลัง 2/ธนาคารแห่งประเทศไทย 3/สานักงานสถิติแห่งชาติ 4/กระทรวงพาณิชย์ 5/มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 6/สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7/Reuters 8/สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 9/สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 10/กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 11/ กรมจัดเก็บประกอบด้วยกรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร 12/กรมการขนส่งทางบก 13/บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด 14/คานวณโดยสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่มา: กระทรวงการคลัง