เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน เม.ย. 67 เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.2 ต่อปี เนื่องจากการสูงขึ้นของราคา
น้ามันเชื้อเพลิง ตามสถานการณ์พลังงานในตลาดโลก ประกอบกับการสิ้นสุดมาตรการลด
ภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล และราคาผักและผลไม้สดที่สูงขึ้นจากสภาพอากาศร้อนและภาวะ
ขาดแคลนน้า และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในเดือน
เม.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.4 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม.ย. 67 ลดลงร้อยละ -1.1 ต่อปี เนื่องจาก สาเหตุมาจากการ
ลดลงของราคาในหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก หมวดสุขภัณฑ์ และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ
? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) ในเดือน มี.ค. 67 หดตัวร้อยละ -5.1 ต่อปี ตามการ
หดตัวของหมวดการผลิตสินค้าส้าคัญ อาทิ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ
และเหล็ก
? ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศในเดือน มี.ค. 67 หดตัว
ร้อยละ -11.3 ต่อปี เนื่องจากการลงทุนของการก่อสร้างที่ลดลงจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ใน
ระดับสูงและความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ส่งผลต่อการจ้าหน่ายเหล็กภายในประเทศ
? มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 67 หดตัวร้อยละ -10.9 ต่อปี โดยกลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัว
อาทิ สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์มันส้าปะหลัง น้าตาลทราย
ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง สินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ เป็นต้น และมูลค่าการน้าเข้าในเดือน มี.ค. 67 ขยายตัว
ร้อยละ 5.6 ต่อปี โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากกลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน และสินค้าอื่น ๆ
ตามล้าดับ
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 67 คิดเป็นร้อยละ 63.4 ของ GDP โดยยังอยู่ในระดับ
ต้ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน เม.ย. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.2ต่อปี
?
เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน เม.ย. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 (YoY) สูงกว่าที่ สศค.คาดที่ร้อยละ -0.04 (YoY) ซึ่งเป็นการสูงขึ้นเป็นครั้งแรก ในรอบ 7 เดือน โดยสาเหตุส้าคัญจากการสูงขึ้นของราคาน้ามันเชื้อเพลิง ตามสถานการณ์พลังงานในตลาดโลก ประกอบกับการสิ้นสุดมาตรการลดภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล และราคาผักและผลไม้สดที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศร้อนและภาวะขาดแคลนน้า
?
อย่างไรก็ดีมีสินค้าที่ปรับขึ้น เช่น ข้าวสารเจ้า ข้าวสารเหนียว เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
?
เมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อ สูงขึ้นร้อยละ 0.85 (MoM). จากการสูงขึ้นของราคาน้ามันเชื้อเพลิง และสินค้ากลุ่มอาหารสด ได้แก่ เนื้อสุกร ไก่สด ผักสด และผลไม้สดเป็นส้าคัญ
?
เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่าหมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง หมวดอาหารส้าเร็จรูป เป็นปัจจัยบวกที่ท้าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.2 และ 0.1 ขณะที่หมวดไฟฟ้าน้าประปา เป็นปัจจัยลบที่ท้าให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.2
?
และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัว +0.4 (YoY) และลดลงเล็กน้อยที่ร้อยละ -0.01 (MoM) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม.ย. 6767ลดลงร้อยละ 1.11.1เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน เม.ย. 6767ลดลงร้อยละ 1.11.1เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 133สาเหตุมาจากหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก ลดลงร้อยละ 3.73.7จากวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้นตัวท้าให้มีอุปทานเหล็กส่วนเกิน และหมวดสุขภัณฑ์ที่ลดลงร้อยละ 3.63.6จากความต้องการใช้ในโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่ชะลอตัวจากอัตราดอกเบี้ยที่สูงและความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 2.82.8ขณะที่หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดกระเบื้อง หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา มีดัชนีราคาสูงขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน มี.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -5.1ต่อปี
Indicators
(%yoy)
2023
2024
Q
3 Q
4 ทั้งปี
Q1
Feb
Mar
YTD
ยอดจ้าหน่ายเหล็ก
7.8
-
3.5 -
4.2 -
5.6 -
5.8 -
11.3 -
5.6
%mom_sa,
%qoq_sa
16.5
-
8.3 -
-
6.6 -
4.4 -
6.5
Manufacturing Production Index :
MPI
ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม
โดยดัชนีหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 18 ตามการหดตัวของหมวดการผลิตสินค้าส้าคัญ อาทิ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และเหล็ก ที่หดตัวร้อยละ 22 1,,-16.5 และ -9.9 ต่อปี ตามล้าดับ* โดยการผลิตรถยนต์ยังชะลอตัวต่อเนื่อง ตามการหดตัวของการจ้าหน่ายรถยนต์เพื่อการบริโภคในประเทศและการส่งออก จากปัญหาหนี้ครัวเรือนสูง ขณะที่การผลิตในหมวดคอมพิวเตอร์ฯ ยังคงชะลอตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์ที่ยังคงไม่ฟื้นตัวจากสินค้า HDD และ IC เป็นส้าคัญ เช่นเดียวกับการผลิตเหล็กที่ยังคงหดตัวตามเศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ชะลอตัว และการเบิกจ่ายงบประมาณปี 67 ที่ล่าช้า อย่างไรก็ดี การผลิตผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียมขยายตัวต่อเนื่องตามการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัว (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 22หลัก
ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน มี.ค. 6767หดตัวที่ร้อยละ 11.311.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวที่ร้อยละ 6.56.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กในประเทศเดือน มี.ค. 6767หดตัวร้อยละ 11.311.3โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากปริมาณการจ้าหน่ายที่ลดลงของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี เหล็กเส้นกลม และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่หดตัวร้อยละ 29.6 21.921.9และ 17.017.0ตามล้าดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการลงทุนของการก่อสร้างที่ลดลงจากอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูงและความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ จึงส่งผลต่อการจ้าหน่ายเหล็กภายในประเทศ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน มี.ค. 67 มีมูลค่าอยู่ที่ 24,960.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวที่ร้อยละ -10.9 เมื่อเทียบรายปี
การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองค้า และยุทธปัจจัย หดตัวร้อยละ -5.6เมื่อเทียบรายปี
กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ
?
สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์มันส้าปะหลัง น้าตาลทราย ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์
?
สินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ
ส้าหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักหดตัว อาทิ ตลาดจีน ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และอาเซียน 5
มูลค่าการน้าเข้าในเดือน มี.ค.67 มีมูลค่า 26,123.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 5.6 เมื่อเทียบรายปี
การน้าเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากกลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน และสินค้าอื่น ๆ ตามล้าดับ
ด้านดุลการค้าในเดือน มี.ค. 67 ขาดดุลมูลค่า -1,163.3ล้านดอลลาร์สหรัฐ ท้าให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67ขาดดุลสะสมที่ -4,475.2ล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
5
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มี.ค. 67 มีจ้านวนทั้งสิ้น11 55ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.44ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 199,112.23ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต้ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 84.5ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.88ของยอดหนี้สาธารณะ
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มี.ค. 677เกินดุลที่ 1,1,082.13 ล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 1,1,965.45ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน มี.ค. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน เกินดุลที่107.44ล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่974.69ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส้าหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677เกินดุลรวม 2 857.07ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน มี.ค. 677มียอดคงค้าง 20.620.62 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน มี.ค. 677มียอดคงค้าง 25.2125.21ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.02จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่สินเชื่อเพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวที่ร้อยละ -0.06จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์และเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.1.1และ 4.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อนตามล้าดับ
Credit Of Depository Institutions
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE Index) เดือน มี.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.5 และ Core PCEPCEเดือน มี.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า
ราคาเฉลี่ยของบ้านเดี่ยวพร้อมสินเชื่อจ้านองเดือน ก.พ. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 6.5
ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ 49.2 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 50.3จุด ต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 50.0จุด
การขาดดุลการค้า เดือน มี.ค. 67ยังคงแตะระดับสูงสุดในรอบ 10เดือนที่ 69.4พันล้านดอลลาร์
จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (22 -27 เม.ย. 67) อยู่ที่ 2.08 แสนราย คงที่จากสัปดาห์ก่อนหน้า และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.12 แสนราย ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.10แสนราย
ผลการประชุมคณะกรรมการก้าหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ครั้งที่ 3/8ของปี 67มีมติเอกฉันท์ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ช่วงร้อยละ 5.25 -5.50 ต่อปีซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ตลาด FOMCFOMCยังมองว่าอัตราเงินเฟ้อได้ผ่อนคลายลงในช่วงปีที่ผ่านมา แต่กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นนับตั้งแต่ต้นปี 67เป็นต้นมา
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 38.3ลดลงจากระดับ 39.5ในเดือนก่อนหน้า และต้าสุดในรอบ 3เดือน
อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค.67 อยู่ที่ร้อยละ 2.6เท่ากับเดือนก่อนหน้า สูงสุดนับจาก ก.ย.66เป็นต้นมา
ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.2 ต่อปี ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.7ต่อปี อย่างไรก็ดี การค้าปลีกยังคงขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 25
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ 49.6 เพิ่มขึ้นจากระดับ 48.2ในเดือนก่อนหน้า โดยกิจกรรมโรงงานยังคงหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.1จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.0จุด
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ -14.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -14.9จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
GDP
GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.1และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 0.2
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.1จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 45.6จุด
เวียดนาม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย 67 ขยายตัวร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.8
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0
ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 9.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 9.2
มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 10.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ยังคงขยายตัวในระดับสูงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 13.0
มูลค่าการน้าเข้า เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 19.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าค่อนข้างมากที่ร้อยละ 9.0
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 67 เกินดุลที่ 0.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุล 2.9พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.9จุด
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.05 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งยังคงอยู่ในกรอบเป้าหมายที่ธนาคารกลางก้าหนดที่ร้อยละ 1.5 3.5
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากมูลค่าซื้อขายที่ลดลงในทุกอุตสาหกรรม
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.3จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงต้ากว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.4จุด
มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน มี.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -12.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการน้าเข้าสินค้า เดือน มี.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 17.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน มี.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 8.63 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 5.87พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
GDPไตรมาสที่ 1ปี 67(เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 6.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสที่ 4ปี 66ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการขยายตัวต่อเนื่องกันเป็นไตรมาสที่ 4ซึ่งมากกว่าคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้าและเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ไตรมาส 2 ปี 64 โดยเศรษฐกิจไต้หวันได้รับแรงหนุนจากการส่งออกที่ขยายตัวดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งออกสินค้าประเภท AI applicationsapplicationsส่งผลให้ดุลการค้าเกินดุลเพิ่มขึ้น รวมไปถึงการใช้จ่ายภาครัฐที่ขยายตัวเร่งขึ้น
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 49.3 จุด ดัชนีอยู่ในระดับสูงกว่า 50บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมเป็นครั้งแรกในรอบ 24เดือน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากผลผลิตและยอดค้าสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้น
ไต้หวัน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 49.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 48.4 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต้ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมซึ่งหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20ดัชนีได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นในระดับที่สูงที่สุดตั้งแต่ เม.ย. 64
รื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
สิงคโปร์
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (SIPMM PMI) ภาคการผลิต เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.5 ต้าสุดในรอบ 5เดือน จากการลดลงของค้าสั่งซื้อใหม่ การส่งออกใหม่ ค้าสั่งซื้อผลผลิตโรงงาน
ความเชื่อมั่นทางธุรกิจส้าหรับภาคการผลิต ในไตรมาสที่ 1 ปี 67 อยู่ที่ระดับ 22 เพิ่มขึ้นจากระดับ 10 ในไตรมาสก่อนหน้า นับเป็นระดับที่แข็งแรงสุดนับจากไตรมาสที่ 1 ปี 64 จากมุมองที่ดีในส่วนของอิเล็กทรอนิสก์ โดยเฉพาะ Semiconductors
1ผลผลิตโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure output) เดือน มี.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 5.2ต่อปี หลังจากขยายตัวร้อยละ 7.1 ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการชะลอตัวของผลผลิตถ่านหิน น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และเหล็ก อย่างไรก็ตาม การผลิตปูนซีเมนต์และไฟฟ้ามีการเติบโตที่แข็งแกร่ง ซึ่งช่วยชดเชยการชะลอตัวของภาคส่วนอื่น ๆ ได้บางส่วน
2ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI) (final) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 58.8 ลดลงจากระดับ 59.1 ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม ตัวเลขนี้ยังคงอยู่ระดับสูงสุดเป็นอันดับสองในรอบสามปี สะท้อนถึงภาคการผลิตของอินเดียยังคงแข็งแกร่ง โดยได้แรงหนุนจากด้านอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก
อินเดีย
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต่อปี ต้าสุดนับจากต้นปี 67จากต้นทุนที่ลดลงในหมวดอาหารและเครื่องดื่มที่ไม่ใช่แอลกอฮอล์
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน มี.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 0.7ต่อปี ต้าสุดนับจาก ส.ค.66เป็นต้นมา ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในช่วงปี 2519-2567ขยายตัวร้อยละ 8.00
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 67 เกินดุล 1.53 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 13.8ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4) ขณะที่การน้าเข้าขยายตัวร้อยละ 5.4ต่อปี (ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 14เดือน)
เกาหลีใต้
GDP
GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.1และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.9
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.2แต่ต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 3.4
GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 หดตัวร้อยละ -0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัวในอัตราเดียวกับไตรมาสก่อนหน้า และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ร้อยละ 2.3
ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวหลังจากหดตัวร้อยละ -2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 42.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 41.9จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณืที่ระดับ 42.2จุด
เยอรมนี
ไตรมาสที่ 1 ปี 67 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.3เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด เนื่องจากทั้งค้าสั่งซื้อใหม่และผลผลิตหดตัวลงอย่างรวดเร็ว
อิตาลี
GDP
GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.8และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขอัตราเงินเฟ้อดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ ก.ย. 64อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหารเป็นส้าคัญ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.2 จุด และต้ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่ระดับ 44.9จุด นับเป็นการลดลงของดัชนีในอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต้ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSETWSE(ไต้หวัน) Heng SengSeng(ฮ่องกง) และ NikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น
เป็นต้น เมื่อวันที่ 22พ.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,361,363.2.25จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่29 เม.ย. 67 -2 พ.ค. 67 อยู่ที่443,4,427.13 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 29เม.ย. 67-2พ.ค. 67นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -672.28ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 3 ปี และ 15 -20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -2 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4ปี ถึง 13ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.03 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่29 เม.ย. 67 -2 พ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 5 001.51 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2 พ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-662 367.07 ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2 พ.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.93 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.50จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ริงกิตดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโร เปโซ และวอน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.51
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง