รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 24 พ.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday May 28, 2024 14:01 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ขยายตัวร้อยละ 1.5 ต่อปี เนื่องจากการผลิตภาคนอกเกษตร

ขยายตัวจากบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ขณะที่ภาคการเกษตรและหมวดอุตสาหกรรมลดลง ด้านการ

ใช้จ่ายรัฐบาล และการลงทุนรวมลดลงต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกสินค้าและบริการ และการบริโภคอุปโภค

ขั้นสุดท้ายของเอกชนชะลอลง

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน เม.ย. 67 หดตัวร้อยละ -9.9 ต่อปี เนื่องจากดัชนีผลผลิตสินค้า

เกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญและหนวดประมงหดตัว ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว และ

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน เม.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.2 ต่อปี เนื่องจากดัชนีราคา

สินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว แต่ขณะที่ หมวดปศุสัตว์และหมวดประมงหดตัว

? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 90.3 เนื่องจาก การชะลอตัวของ

อุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะสินค้าเช่น รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น ความกังวลต่อ

การขึ้นค่าจ้างขั้นต่า 400 บาท/วัน และการสิ้นสุดของมาตรการอุดหนุนราคาน้ามันดีเซลที่อาจกระทบต่อ

ต้นทุนการผลิต รวมถึงสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศที่เข้ามาทุ่มตลาด ที่ทาให้ผู้ประกอบการในประเทศ

แข่งขันได้ยากขึ้น

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน เม.ย. 67 หดตัวลงร้อยละ -14.4 ต่อปี เนื่องจากจากความ

เข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ รวมถึงถาวะเศรษฐกิจในประเทศที่อ่อนแอลง

จากงบประมาณรายจ่ายปี 2567 ที่ล่าช้า ส่งผลต่อการใช้จ่ายและการลงทุนของภาครัฐ

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน เม .ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -25.1 ต่อปี เนื่องจาก

เศรษฐกิจที่เติบโตต่าส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่สูงส่งผลให้สถาบัน

การเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ

? มูลค่าการส่งออกในเดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.8 ต่อปี เนื่องจาก กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวใน

เดือนอาทิ สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา อาหารสัตว์เลี้ยง เป็นต้น

และสินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และ

ส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เป็นต้น และมูลค่าการนาเข้าในเดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่

ร้อยละ 8.3 ต่อปี เนื่องจากกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป สินค้าทุนสินค้าอื่น ๆ และสินค้าอุปโภค

บริโภค

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ในส่วนของภาคการผลิต การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 6ร้อยละ 3.0เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้าตามการลดลงของทุกกลุ่มการผลิต โดยเฉพาะกลุ่มการผลิตที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30-60และกลุ่มการผลิตเพื่อการส่งออก (สัดส่วนส่งออกมากกว่าร้อยละ 60) เป็นสาคัญ สอดคล้องกับการลดลงของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมร้อยละ 3.7เทียบกับการลดลงร้อยละ 2.9ในไตรมาสก่อนหน้า โดยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมที่มีสัดส่วนการส่งออกในช่วงร้อยละ 30 -60 ลดลงต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 4 ร้อยละ 7.5 และการผลิตภาคเกษตร ในหมวดเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมงลดลงร้อยละ 3.5 ต่อเนื่องจากการลดลงร้อยละ 0.6 ในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออานวยประกอบกับปริมาณน้าอยู่ในระดับต่ากว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน อย่างไรก็ดี สาหรับสาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหารขยายตัวร้อยละ 11.8 ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 9.8 ในไตรมาสก่อนหน้า ตามการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศและการท่องเที่ยวภายในประเทศ (ไทยเที่ยวไทย) โดยในไตรมาสนี้ มีนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยจานวน 9.370 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 43.5 ส่งผลให้มูลค่าบริการรับด้านการท่องเที่ยวในไตรมาสนี้ อยู่ที่ 3.71แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 38.3ส่วนการท่องเที่ยวภายในประเทศของ

นักท่องเที่ยวชาวไทย มีจานวน 67.990 ล้านคน-ครั้ง เพิ่มขึ้นต่อเนื่องร้อยละ 8.6 สร้างรายรับจากนักท่องเที่ยวชาวไทยอยู่ที่ 2.32 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 9

Thailand?s Real GDP (Q

Q1/

67 ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

เศรษฐกิจไทยในไตรมาสที่ 11ปี 25677ขยายตัวร้อยละ 1.55ต่อปี ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 1.7 ต่อปี ในไตรมาสที่ 4 ปี 2566 ปัจจัยหลักมาจากการผลิตภาคนอกเกษตรขยายตัวจากบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว ขณะที่ภาคการเกษตรและหมวดอุตสาหกรรมลดลง ด้านการใช้จ่ายรัฐบาล และการลงทุนรวมลดลงต่อเนื่อง ขณะที่การส่งออกสินค้าและบริการ และการบริโภคอุปโภคขั้นสุดท้ายของเอกชนชะลอลง

โดยองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 1 ปี 2567 ปรับตัวดีขึ้นมาจาก (1) การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 6.9 ตามการขยายตัวของการใช้จ่ายในหมวดสินค้ากึ่งคงทน สินค้าไม่คงทน และหมวดบริการที่ยังคงขยายตัว และ (2) การลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวที่ร้อยละ 4.6ต่อเนื่องจากการขยายตัวร้อยละ 5.0ในไตรมาสก่อนหน้าโดยการลงทุนในหมวดเครื่องจักรเครื่องมือขยายตัวร้อยละ 4.5ต่อเนื่องจากร้อยละ 5.2ในไตรมาสก่อนหน้า

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน เม.ย. 67 หดตัวต่อเนื่อง ร้อยละ -9.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 4.5เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน เม.ย. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในหมวดพืชผลสาคัญหดตัว ร้อยละ -15.0ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 0.9และหมวดประมง หดตัวร้อยละ -3.1 ผลผลิตข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง กลุ่มไม้ผล ไข่ไก่ และกุ้ง หดตัว ส่วนปาล์มน้ามัน ข้าวโพด สุกร ไก่ ปรับตัวเพิ่มขึ้น

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน เม.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ5.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน เม.ย. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 24.1 หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมง หดตัวอยู่ที่ ร้อยละ -13.8 และหดตัวร้อยละ -4.2 ตามลาดับ โดยสินค้าเกษตรสาคัญราคาปรับเพิ่มขึ้นทุกหมวดสินค้า ยกเว้น มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน ข้าวโพด สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมราคาปรับลดลง

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน เม.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.3 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา เป็นสาคัญ

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน เม.ย. 67อยู่ที่ระดับ 90.3ลดลงจากระดับ 92.4ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี TISITISIเดือน เม.ย. 67 ลดลงจากเดือนก่อน จากการปรับตัวลงในดัชนีย่อย*ทุกองค์ประกอบ โดยมีปัจจัยลบสาคัญจากการชะลอตัวของอุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะสินค้าเช่น รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น ความกังวลต่อการขึ้นค่าจ้างขั้นต่า 400 บาท/วัน และการสิ้นสุดของมาตรการอุดหนุนราคาน้ามันดีเซลที่อาจกระทบต่อต้นทุนการผลิต รวมถึงสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศที่เข้ามาทุ่มตลาด ที่ทาให้ผู้ประกอบการในประเทศแข่งขันได้ยากขึ้น สาหรับปัจจัยบวก ได้แก่ การจับจ่ายในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่มีส่วนช่วยสนับสนุนการบริโภค การส่งออกสินค้าอาหารที่ยังขยายตัวได้ดีจากภาวะขาดแคลนอาหาร และการลดดอกเบี้ย MRRMRRของหลายสถาบันการเงินลงร้อยละ 0.25 เป็นเวลา 6 เดือน มีส่วนช่วยลูกค้ากลุ่มเปราะบาง สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 98.3 ลดลงจากระดับ 100.8 ในเดือนก่อน เนื่องจากเป็นช่วง Low seasonseasonของภาคการท่องเที่ยว รวมถึงปัญหาภัยแล้งที่กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน เม.ย. 67 มีจานวน 17,288 คัน หดตัวลงร้อยละ -14.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 7.4

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงถาวะเศรษฐกิจในประเทศที่อ่อนแอลง จากงบประมาณรายจ่ายปี 2567ที่ล่าช้า ส่งผลต่อการใช้จ่ายและการลงทุนของภาครัฐ อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวขึ้น จากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการปรับตัวเพิ่มขึ้น ตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่งและมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพจากภาครัฐ ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญที่ช่วยให้การบริโภคของประชาชน ส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดี

ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน เม.ย. 6767มีจานวน 29,45029,450คัน หดตัวที่ร้อยละ 25.125.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวลงที่ร้อยละ 22. 33ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 34.034.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน เม.ย. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 1717แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 22.322.3เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตต่าส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่สูงส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ

มูลค่าการส่งออกในเดือน เม.ย.67 มีมูลค่าอยู่ที่ 23,278.6,278.6ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ 6.8 เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 12.6

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัยขยายตัวร้อยละ 11.4เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ข้าว ยางพารา อาหารสัตว์เลี้ยง สิ่งปรุงรสอาหาร ผลไม้กระป๋องและแปรรูป และไก่แปรรูป

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ เป็นสาคัญ

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐ สหภาพยุโรป และอาเซียน

มูลค่าการนาเข้าในเดือน เม.ย.67 มีมูลค่า 24,920.3,920.3ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 8.38.3เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2. 8

การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป สินค้าทุนสินค้าอื่น ๆ และสินค้าอุปโภคบริโภค ตามลาดับ

ด้านดุลการค้าในเดือน เม.ย. 67 ขาดดุลมูลค่า -1,641.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -6 116.9ล้านดอลลาร์สหรัฐ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (12 -18 พ.ค. 67) อยู่ที่ 2.15 แสนราย คงที่จากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.23 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.19แสนราย

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน เม.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -4.7 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากที่ขยายตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 5.4

สหรัฐอเมริกา

ญี่ปุ่น

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 67 ขาดดุลเพิ่มขึ้นเป็น 462 5 พันล้านเยน มากกว่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 339.5 พันล้านเยน โดยการส่งออกจะเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5แต่ต่ากว่าที่คาดการณ์ ในขณะที่การนาเข้าขยายตัวสูงสุดในรอบ 14เดือน โดยเฉพาะการนาเข้าแร่เชื้อเพลิง

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 ชะลอตัวลงมาที่ร้อยละ 2.5 จากร้อยละ 2.7เดือนก่อนหน้า ในส่วนอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานลดลงเป็น ร้อยละ 2.2จากร้อยละ 2.6ซึ่งตรงตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้ และเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือนมกราคม

ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับลูกหนี้ชั้นดี (Loan Prime

Rate LPR) ประเภท 1 ปี ไว้ที่ระดับร้อยละ 3.45 และคงอัตราดอกเบี้ย LPRLPRประเภท 5ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.95 ซึ่งสอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด

จีน

ยูโรโซน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (HCOB) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 47.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.7จุด และอยู่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 46.2จุด โดยดัชนีอยู่ระดับต่ากว่า 50.0จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (HCOB) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 53.3 จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.25 ต่อปี เพื่อรักษาการไหลเข้าของเงินทุนต่างประเทศ และเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนรูเปียห์

อัตราการว่างงานเดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.39 ของกาลังแรงงานรวมลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.40ของกาลังแรงงานรวม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 และเป็นขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67ตัวเลขผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคส่วนไฟฟ้าและแก๊สเป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีกเดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.9 และเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ ธ.ค. 66 ยอดค้าปลีกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากยอดขายที่ลดลงของสินค้าในหมวดเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย และหมวดสินค้าวัฒนธรรมและนันทนาการ เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าและเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาด นอกจากนี้อัตราเงินเฟ้อยังคงระดับเดิมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3และเป็นตัวเลขที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.ย. 66

การส่งออก เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากหดตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 13.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการส่งออกในทุกหมวดสินค้า โดยเฉพาะสินค้าหมวดปิโตรเลียมอื่น ๆ และคอนเดนเสทหมวดน้ามันดิบ และหมวดยางธรรมชาติ เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 12.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในทุกหมวดสินค้า

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 67 เกินดุลอยู่ที่ 7.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 12.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 11.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

เศรษฐกิจสิงคโปร์ในไตรมาส 1 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า สูงกว่าคาดการณ์ เป็นไตรมาสที่ 13 ติดต่อกันที่มีการขยายตัว โดยภาคบริการเป็นแรงขับเคลื่อนหลัก ในขณะที่ภาคการผลิตหดตัวลง ทางการคงคาดการณ์การขยายตัวทั้งปีที่ร้อยละ 1-3โดยได้แรงหนุนจากการฟื้นตัวของภาคการผลิต การเงิน และการท่องเที่ยว

อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 67 คงที่ที่ร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า เป็นเดือนที่ 2ติดต่อกัน สาเหตุหลักมาจากราคาสินค้าและบริการหลายหมวดปรับตัวสูงขึ้น ได้แก่ อาหาร ที่พักอาศัย ค่าใช้จ่ายการเดินทาง นันทนาการและวัฒนธรรม การศึกษา และสุขภาพ

ผลผลิตภาคการผลิต เดือน มี.ค. 67 หดตัวลงร้อยละ 9.2 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า โดยมีการหดตัวอย่างมากในหลายสาขา ได้แก่ อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ และการขนส่ง

ธนาคารกลางเกาหลีใต้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.5 ในการประชุมเดือน พ.ค. 67เป็นครั้งที่ 11ติดต่อกัน แสดงถึงความมุ่งมั่นรักษาเสถียรภาพท่ามกลางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งและไม่มีสัญญาณชะลอตัว

เกาหลีใต้

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 ต่อปี ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.2ต่อปี โดยมีปัจจัยสนับสนุนมาจากการลดลงของราคาเชื้อเพลิงและไฟฟ้า

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 49.1จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นของลูกค้า และการฟื้นตัวของการส่งออก

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.9 จุด ลดลงจากระดับ 55.0 จุด ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ระดับดัชนีดังกล่าวได้อยู่เหนือระดับ 50จุด ได้เป็นเจ็ดเดือนติดต่อกัน สะท้อนถึงภาคบริการที่ยังคงขยายตัว

สหราชอาณาจักร

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (HCOB) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 45.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 42.5จุด สูงที่สุดในรอบ 4เดือน โดยดัชนีอยู่ระดับที่ต่ากว่า 50.0จุด บ่งชี้ถึงการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (HCOB) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.2จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 53.5จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ถึงการขยายตัวของภาคบริการ

อัตราการว่างงาน ไตรมาสที่ 4 ปี 67 อยู่ที่ร้อยละ 7.5 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงไปจากไตรมาสก่อนหน้าต่อเนื่องเป็นไตรมาสที่ 3ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 7.4ของกาลังแรงงานรวม และสูงที่สุดนับตั้งแต่ ไตรมาสที่ 3ปี 64

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.3 จุด ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 45.8 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น

Heng SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 23พ.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,31,367.84จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 20 -23 พ.ค. 67 อยู่ที่42,914.44 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 20 -23พ.ค. 67นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -4,059.66ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 9 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 0.95 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่20 -23 พ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 7,662.44ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 23 พ.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-48,418.84ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่23 พ.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.53 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.00จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลวอน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.61

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ