ภาวะเศรษฐกิจการคลังประจำเดือนเมษายน 2567

ข่าวเศรษฐกิจ Friday May 31, 2024 14:49 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่ 18/2567 วันที่ 30 พฤษภาคม 2567
ภาวะเศรษฐกิจการคลังประจาเดือนเมษายน 2567
?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนเมษายน 2567 ขยายตัวต่อเนื่องในภาคการท่องเที่ยว มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากการส่งออก
สินค้า และการลงทุนภาคเอกชน อย่างไรดี การบริโภคสินค้าคงทนยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ประกอบกับผลผลิตภาคเกษตรยังคงหดตัว
จากเดือนก่อน ดังนั้น ต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจ กาลังซื้อของผู้บริโภคต่อสินค้าคงทน และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิดต่อไป?
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจการคลังประจาเดือนเมษายน
2567 ว่า ?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนเมษายน 2567 ขยายตัวต่อเนื่องในภาคการท่องเที่ยว มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจาก
การส่งออกสินค้า และการลงทุนภาคเอกชน อย่างไรดี การบริโภคสินค้าคงทนยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ประกอบกับผลผลิตภาคเกษตรยังคง
หดตัวจากเดือนก่อน ดังนั้น ต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัว
ของเศรษฐกิจ กาลังซื้อของผู้บริโภคต่อสินค้าคงทน และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิดต่อไป? โดยมีรายละเอียด
สรุปได้ ดังนี้
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า: โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม
ณ ระดับราคาคงที่ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 4.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล
ทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.8 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -14.4 แต่เพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 7.4 ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 3.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.7 รายได้เกษตรกรที่แท้จริง
ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 2.3 อย่างไรก็ดี ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ในเดือนเมษายน 2567
ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 62.1 จากระดับ 63.0 ในเดือนก่อน เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า: โดยการลงทุน
ภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากสะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 17.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์
เชิงพาณิชย์ ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -25.1 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล
ทางฤดูกาลที่ร้อยละ 22.3 สาหรับการลงทุนภาคเอกชนในหมวดการก่อสร้าง สะท้อนจากปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์
ภายในประเทศ ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ -9.4 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล
ทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.4 ขณะที่ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน
ที่ร้อยละ 13.6 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.2
มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ารวมในรูปเงินสกุลดอลลาร์
สหรัฐ ในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ 23,278.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 6.8 และหาก
พิจารณาเฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 11.4
เนื่องจากการขยายตัวของสินค้าในหมวดเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หมวดเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ
หมวดหม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ และหมวดเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ โดยขยายตัวร้อยละ 62.0 58.8 32.4 และ 23.3
ตามลาดับ นอกจากนี้ สินค้าข้าว อาหารสัตว์เลี้ยง ยางพารา และสิ่งปรุงรสอาหาร ขยายตัวร้อยละ 91.5 52.9 36.2 และ 23.2
ตามลาดับ อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้าในหมวดผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง น้าตาลทราย
- 2 -
และแผงวงจรไฟฟ้าชะลอตัว ทั้งนี้ เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวดีขึ้นในตลาดสหรัฐฯ ทวีปออสเตรเลีย อินเดีย และอาเซียน--9 ที่ขยายตัวร้อยละ 26.1 18.6 13.3 และ 4.3 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดจีน และญี่ปุ่น หดตัวลงร้อยละ --7.8 และ --4.1 ตามลาดับ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน สาหรับภาคบริการมีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนเมษายน 2567 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 2.76 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวต่อเนื่องจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 26.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 3.1 โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากจีน มาเลเซีย อินเดีย รัสเซีย และเกาหลีใต้ ตามลาดับ เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนเมษายน 2567 จานวน 24.5 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนที่ร้อยละ 14.6 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 9.7 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --9.9 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.5 จากการลดลงของผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือก ยางพารา และมันสาปะหลัง อย่างไรก็ดี ผลผลิตข้าวโพด และปาล์มน้ามัน ยังคงขยายตัว สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567 ขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.3 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนเมษายน 2567 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 90.3 จากระดับ 92.4 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง รวมถึงความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจโลก
เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ร้อยละ 0.19 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.37 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ 63.4 ต่อ GDP1 ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจาก ทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2567 อยู่ในระดับสูงที่ 221.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
1GDP คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross domestic product: GDP)
- 3 -
?สถานการณ์เศรษฐกิจไทยในเดือนเมษายน 2567 ขยายตัวต่อเนื่องในภาคการท่องเที่ยว มีสัญญาณปรับตัว ดีขึ้นจากการส่งออกสินค้า และการลงทุนภาคเอกชน อย่างไรดี การบริโภคสินค้าคงทนยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ ประกอบกับผลผลิตภาคเกษตรยังคงหดตัวจากเดือนก่อน ดังนั้น ต้องติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ กาลังซื้อของผู้บริโภคต่อสินค้าคงทน และปริมาณการผลิตภาคอุตสาหกรรมอย่างใกล้ชิดต่อไป?
1. เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า: โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 4.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.8 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --14.4 แต่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 7.4 ยอดรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 3.7 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.7 รายได้เกษตรกรที่แท้จริง ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 2.3 อย่างไรก็ดี ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค ในเดือนเมษายน 2567 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 62.1 จากระดับ 63.0 ในเดือนก่อน เนื่องจากผู้บริโภคมีความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวช้า
เครื่องชี้การบริโภคภาคเอกชน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
?1.7%
?1.7%
0.5%
0.5%
?2.7%
?2.7%
?6.4%
?6.4%
1.9%
1.9%
0.8%
0.8%
?0.0%
?0.0%
4.7%
4.7%
1.8%
1.8%
%qoq_SA / %mom_SA
2.7%
2.7%
?2.8%
?2.8%
?1.6%
?1.6%
3.9%
3.9%
1.5%
1.5%
?0.2%
?0.2%
0.8%
0.8%
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง
10.3%
10.3%
2.3%
2.3%
17.2%
17.2%
10.5%
10.5%
13.0%
13.0%
?15.3%
?15.3%
?24.8%
?24.8%
?14.4%
?14.4%
?15.1%
?15.1%
%qoq_SA / %mom_SA
24.5%
24.5%
7.0%
?5.3%
?10.0%
?8.0%
?8.0%
?8.9%
?8.9%
7.4%
7.4%
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)
4.6%
4.6%
13.5%
6.6%
6.6%
0.3%
0.3%
?2.3%
?2.3%
?10.2%
?10.2%
?17.5%
?17.5%
3.7%
3.7%
?7.4%
?7.4%
%qoq_SA / %mom_SA
4.9%
?1.2%
?1.0%
?4.8%
?3.4%
?3.4%
?1.7%
?1.7%
2.
2.7%7%
ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคบริโภค (%YoY)
?0.7%
?0.8%
?4.3%
?0.1%
2.5%
?0.7%
?9.0%
5.1%
0.6%
%qoq_SA / %mom_SA
5.8%
?1.9%
1.8%
?2.7%
1.9%
?15.8%
8.4%
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ระดับ)
56.7
56.7
52.7
52.7
55.8
55.8
57.1
57.1
61.0
61.0
63.2
63.2
63.0
63.0
62.1
62.1
63.0
63.0
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY)
?2.1%
?2.1%
?2.5%
?2.5%
?5.4%
?5.4%
?0.8%
?0.8%
?0.6%
?0.6%
0.9%
0.9%
2.3%
2.3%
2.3%
2.3%
1.2%
1.2%
2. เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการลงทุนภาคเอกชน มีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้า: โดยการลงทุนภาคเอกชนในหมวดเครื่องมือเครื่องจักร สะท้อนจากสะท้อนจากปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 17.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.4 ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --25.1 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผล ทางฤดูกาลที่ร้อยละ 22.3 สาหรับการลงทุนภาคเอกชนในหมวดการก่อสร้าง สะท้อนจากปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศ ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --9.4 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 1.4 ขณะที่ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ ในเดือนเมษายน 2567 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน ที่ร้อยละ 13.6 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.2
เอกสารแนบ
- 4 -
เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน 2565 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
เครื่องชี้การลงทุนในเครื่องจักร
ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุน (%YoY)
3.8%
3.8%
?4.7%
?4.7%
1.2%
1.2%
3.6%
3.6%
16.5%
16.5%
16.6%
12.0%
17.4%
17.4%
16.8%
16.8%
%qoq_SA / %mom_SA
6.4%
6.4%
6.1%
6.1%
?1.8%
?1.8%
5.3%
5.3%
6.1%
-12.2%
0.4%
0.4%
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ (%YoY)
?17.3%
?17.3%
?10.2%
?10.2%
?12.8%
?12.8%
?22.9%
?22.9%
?2
?23.3%3.3%
-
-29.7%
-
-32.8%
-
-25.1%
-28.7%
%qoq_SA / %mom_SA
0.7%
0.7%
?5.5%
?5.5%
?8.5%
?8.5%
?11.5%
?11.5%
-
-8.8%
-
-15.5%
22.3%
เครื่องชี้การลงทุนก่อสร้าง
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ (%YoY)
?2.4%
?2.4%
19.3%
19.3%
?5.1%
?5.1%
0.4%
0.4%
?17.5%
?17.5%
-
-11.5%
-13.5%
13.6%
-6.6%
%qoq_SA / %mom_SA
1.1%
1.1%
-
-5.2%5.2%
0.0%
0.0%
?13.8%
?13.8%
8.3%
0.0%
2.2%
ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY)
1.2%
1.2%
?3.3%
?3.3%
3.9%
3.9%
5.0%
5.0%
?0.4%
?0.4%
?9.1%
?9.1%
?11.8%
?11.8%
?9.4%
?9.4%
?9.1%
?9.1%
%qoq_SA / %mom_SA
2.0%
2.0%
2.5%
2.5%
0.1%
0.1%
?4.6%
?4.6%
?7.0%
?7.0%
?2.3%
?2.3%
1.4%
1.4%
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY)
0.1%
0.1%
2.2%
2.2%
?1.2%
?1.2%
?0.2%
?0.2%
?0.2%
?0.2%
?1.1%
?1.1%
?
?1.2%1.2%
?1.1%
?1.1%
?1.1%
?1.1%
3. การใช้จ่ายงบประมาณ: การเบิกจ่ายงบประมาณ ในเดือนเมษายน 2567 เบิกจ่ายได้รวมจานวน 198.6พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 191.6 พันล้านบาท แบ่งเป็นการเบิกจ่ายรายจ่ายประจา 167.9 พันล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 23.7 พันล้านบาท และเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 6.9 พันล้านบาท ทาให้ ใน 7 เดือนของปีงบประมาณ 2567 มีการเบิกจ่ายรวม 1,769.6 พันล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายจากงบประมาณปีปัจจุบันจานวน 1,672.6 พันล้านบาท แบ่งเป็นรายจ่ายประจา 1,556.6 พันล้านบาท รายจ่ายลงทุน 116.0 พันล้านบาท และ การเบิกจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 97.0 พันล้านบาท
เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2566 FY2566 FY2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 มี.ค. เม.ย. FY/YTD
รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท)
3,088.4
982.2
709.7
742.1
654.3
910.1
570.7
193.1
191.6
1,672.6
%YoY
5.3%
-
-0.1%
17.1%
9.3%
-
-1.4%
-
-7.3%
-
-19.6%
-
-22.2%
-
-11.3%
-
-12.3%
รายจ่ายประจา (พันล้านบาท)
2,610.2
858.7
600.5
625.2
525.6
859.1
529.5
178.2
167.9
1,556.6
%YoY
3.7%
-
-3.1%
16.5%
9.5%
-
-3.4%
0.0%
-
-11.8%
-
-11.3%
-
-9.5%
-
-5.4%
รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท)
478.1
123.4
109.2
116.8
128.6
51.0
41.2
14.9
23.7
116.0
%YoY
15.0%
27.3%
20.0%
7.8%
7.7%
-
-58.6%
-
-62.2%
-
-68.6%
-
-22.4%
-
-55.9%
รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท)
173.9
58.9
44.5
27.9
42.5
53.5
36.4
12.2
6.9
97.0
%YoY
-
-18.6%
-
-22.0%
-
-22.7%
-
-12.2%
-
-12.6%
-
-9.1%
-
-18.1%
-
-25.0%
-
-31.2%
-
-14.6%
รายจ่ายรวม (พันล้านบาท)
3,262.3
1,041.1
754.2
770.0
696.8
963.7
607.2
205.3
198.6
1,769.6
%YoY
3.7%
-
-1.7%
13.6%
8.3%
-
-2.1%
-
-7.4%
-
-19.5%
-
-22.4%
-
-12.2%
-
-12.5%
4. มูลค่าการส่งออกสินค้าขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยมูลค่าการส่งออกสินค้ารวมในรูปเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐ ในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ 23,278.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 6.8 และหากพิจารณาเฉพาะมูลค่าการส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามันและสินค้าที่เกี่ยวเนื่อง ทองคา และยุทธปัจจัย พบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 11.4 เนื่องจากการขยายตัวของสินค้าในหมวดเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ หมวดเครื่องจักรกลและส่วนประกอบ หมวดหม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ และหมวดเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ โดยขยายตัวร้อยละ 62.0 58.8 32.4 และ 23.3 ตามลาดับ นอกจากนี้ สินค้าข้าว อาหารสัตว์เลี้ยง ยางพารา และสิ่งปรุงรสอาหาร ขยายตัวร้อยละ 91.5 52.9 36.2 และ 23.2
- 5 -
ตามลาดับ อย่างไรก็ดี การส่งออกสินค้าในหมวดผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง น้าตาลทราย และแผงวงจรไฟฟ้าชะลอตัว ทั้งนี้ เมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกสินค้า โดยจาแนกเป็นรายตลาดคู่ค้าหลักของไทย พบว่า ปรับตัวดีขึ้นในตลาดสหรัฐฯ ทวีปออสเตรเลีย อินเดีย และอาเซียน--9 ที่ขยายตัวร้อยละ 26.1 18.6 13.3 และ 4.3 ตามลาดับ อย่างไรก็ดี ตลาดจีน และญี่ปุ่น หดตัวลงร้อยละ --7.8 และ --4.1 ตามลาดับ
ประเทศคู่ค้าหลัก 16 ประเทศ สัดส่วน 2566 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
ส่งออกไปทั้งโลก
100.0%
100.0%
-
-1.0%1.0%
-
-3.3%3.3%
-
-5.2%5.2%
-
-0.5%0.5%
5.8%
5.8%
-
-0.2%0.2%
-
-10.9%10.9%
6.8%
6.8%
1.4%
1.4%
สหรัฐฯ
17.2%
17.2%
2.8
2.8%%
-
-3.7%3.7%
1.7%
1.7%
3.5%
3.5%
10.2%
10.2%
9.9%
9.9%
2.5%
2.5%
26.1%
26.1%
13.4%
13.4%
จีน
12.0%
12.0%
-
-0.8%0.8%
-
-7.2%7.2%
-
-0.5%0.5%
4.3%
4.3%
0.4%
0.4%
-
-5.1%5.1%
-
-9.7%9.7%
-
-7.8%7.8%
-
-6.0%6.0%
ญี่ปุ่น
8.7%
8.7%
0.1%
0.1%
-
-0.3%0.3%
-
-2.4%2.4%
2.9%
2.9%
0.0%
0.0%
-
-9.0%9.0%
-
-19.3%19.3%
-
-4.1%4.1%
-
-8.0%8.0%
สหภาพยุโรป (15)
8.1%
8.1%
-
-4.0%4.0%
-
-1.8%1.8%
0.8%
0.8%
-
-8.3%8.3%
-
-6.9%6.9%
0.7%
0.7%
-
-2.1%2.1%
7.3%
7.3%
2.2%
2.2%
ทวีปออสเตรเลีย
4.9%
4.9%
3.3%
3.3%
-
-9.6%9.6%
9.5%
9.5%
3.9%
3.9%
10.0%
10.0%
22.0%
22.0%
13.5%
13.5%
18.6%
18.6%
21.3%
21.3%
เวียดนาม
3.9%
3.9%
-
-15.6%15.6%
-
-10.1%10.1%
-
-22.4%22.4%
-
-18.0%18.0%
-
-11.0%11.0%
-
-9.5%9.5%
-
-7.9%7.9%
-
-1.9%1.9%
-
-7.7%7.7%
มาเลเซีย
4.2%
4.2%
-
-6.3%6.3%
-
-8.0%8.0%
-
-7.7%7.7%
-
-13.4%13.4%
5.9%
5.9%
-
-3.0%3.0%
-
-12.8%12.8%
14.6%
14.6%
1.0%
1.0%
ฮ่องกง
3.8%
3.8%
8.5%
8.5%
-
-3.3%3.3%
-
-9.5%9.5%
34.7%
34.7%
18.8%
18.8%
23.5%
23.5%
5.
5.3%3%
21.2%
21.2%
23.0%
23.0%
สิงคโปร์
3.6%
3.6%
-
-0.4%0.4%
-
-2.3%2.3%
-
-16.6%16.6%
-
-1.5%1.5%
26.8%
26.8%
1.8%
1.8%
-
-31.5%31.5%
-
-14.6%14.6%
-
-2.7%2.7%
อินโดนีเซีย
3.5%
3.5%
-
-2.9%2.9%
2.3%
2.3%
-
-15.8%15.8%
-
-9.9%9.9%
16.3%
16.3%
-
-13.5%13.5%
-
-39.7%39.7%
22.7%
22.7%
-
-7.3%7.3%
ตะวันออกกลาง
3.9%
3.9%
1.6%
1.6%
19.8%
19.8%
-
-3.7%3.7%
-
-3.7%3.7%
-
-4.3%4.3%
-
-5.1%5.1%
-
-7.3%7.3%
17.9%
17.9%
-
-0.6%0.6%
อินเดีย
3.6%
3.6%
-
-3.9%3.9%
3.9%
3.9%
-
-19.4%19.4%
1.6%
1.6%
1.3%
1.3%
-
-3.5%3.5%
-
-5.9%5.9%
13.3%
13.3%
0.4%
0.4%
ฟิลิปปินส์
2.8%
2.8%
6.1%
6.1%
8.0%
8.0%
-
-7.9%7.9%
9.0%
9.0%
16.7%
16.7%
-
-6.0%6.0%
-
-17.4%17.4%
-
-2.1%2.1%
-
-5.1%5.1%
แอฟริกา
2.4%
2.4%
4.7%
4.7%
9.9%
9.9%
-
-8.8%8.8%
10.5%
10.5%
7.8%
7.8%
-
-17.8%17.8%
-
-11.9%11.9%
35.5%
35.5%
-
-7.7%7.7%
เกาหลีใต้
2.1%
2.1%
-
-5.2%5.2%
-
-0.7%0.7%
-
-10.4%10.4%
-
-11.3%11.3%
3.8%
3.8%
-
-7.5%7.5%
-
-6.0%6.0%
-
-1.6%1.6%
-
-6.1%6.1%
ไต้หวัน
1.7%
1.7%
1.6%
1.6%
-
-2.6%2.6%
-
-7.3%7.3%
5.2%
5.2%
13.6%
13.6%
-
-2.5%2.5%
-
-13.0%13.0%
-
-12.0%12.0%
-
-4.8%4.8%
อาเซียน--9
23.5%
23.5%
-
-7.1%7.1%
-
-3.0%3.0%
-
-15.2%15.2%
-
-12.7%12.7%
4.6%
4.6%
-
-0.5%0.5%
-
-15.7%15.7%
4.3%
4.3%
0.6%
0.6%
อาเซียน--5
14.1%
14.1%
-
-1.6%1.6%
-
-1.0%1.0%
-
-12.2%12.2%
-
-5.5%5.5%
15.7%
15.7%
-
-5.2%5.2%
-
-26.1%26.1%
3.7%
3.7%
-
-3.3%3.3%
อินโดจีน--4
9.4%
9.4%
-
-14.3%14.3%
-
-5.7%5.7%
-
-19.2%19.2%
-
-22.0%22.0%
-
-8.9%8.9%
-
-1717.9%.9%
0.5%%
5.1%
5.1%
6.2%
6.2%
5. เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน สาหรับภาคบริการมีสัญญาณปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน: โดยภาคบริการด้านการท่องเที่ยว ในเดือนเมษายน 2567 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศไทยรวม จานวน 2.76 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวต่อเนื่องจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 26.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 3.1 โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากจีน มาเลเซีย อินเดีย รัสเซีย และเกาหลีใต้ ตามลาดับ เช่นเดียวกับการท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ในเดือนเมษายน 2567 จานวน 24.5 ล้านคน คิดเป็นอัตราการขยายตัวจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนที่ร้อยละ 14.6 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 9.7 ขณะที่ภาคการเกษตร สะท้อนจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในเดือนเมษายน 2567 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ --9.9 แต่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ เดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 4.5 จากการลดลงของผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญ อาทิ ข้าวเปลือก ยางพารา และมันสาปะหลัง อย่างไรก็ดี ผลผลิตข้าวโพด และปาล์มน้ามัน ยังคงขยายตัว สาหรับภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567 ขยายตัวจากช่วงเดียวกันปีก่อนที่ร้อยละ 3.4 และเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 2.3 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ในเดือนเมษายน 2567 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 90.3 จากระดับ 92.4 ในเดือนก่อนหน้า โดยได้รับผลกระทบจากการชะลอตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่ยังคงทรงตัวอยู่ในระดับสูง รวมถึงความไม่แน่นอนของภาวะเศรษฐกิจโลก
- 6 -
เครื่องชี้เศรษฐกิจด้านอุปทาน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม (%YoY)
0.7%
0.7%
2.2%
2.2%
1.2%
1.2%
1.2%
1.2%
?1.0%
?1.0%
?5.0%
?5.0%
?5.0%
?5.0%
?9.9%
?9.9%
?6.1%
?6.1%
%qoq_SA / %mom_SA
2.1%
2.1%
0.7%
0.7%
?1.8%
?1.8%
?1.7%
?1.7%
?2.1%
?2.1%
?1.5%
?1.5%
4.5%
4.5%
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY)
-
-3.8%3.8%
?2.1%
?4.9%
?5.3%
-
-2.9%2.9%
?3.
?3.66%%
?
?4.9 4.9 %%
3.4%
?
?2.12.1%%
%qoq_SA / %mom_SA
?0.9%
?2.6%
0.2%
0.2%
?1.11%
?0.2%
?0.2%
?
?2.52.5%%
2.3%
อัตราการใช้กาลังการผลิต (%)
59.6%
59.6%
64.2%
64.2%
58.6%
58.4%
57.4%
60.5%
60.5%
62.4%
62.4%
55.3%
59.1
59.1%%
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรร (ระดับ)
92.6
92.6
96
96.0
93.9
93.9
91.2
91.2
89.4
89.4
91.0
91.0
92.4
92.4
90.3
90.8
นักท่องเที่ยวต่างชาติ (%YoY)
154.4%
154.4%
1,237.4%
1,237.4%
311.4%
311.4%
97.9%
97.9%
49.1%
49.1%
43.
43.5%5%
31.4%
31.4%
26.4%
26.4%
39.2%
39.2%
%qoq_SA / %mom_SA
14.6%%
20.1%%
1.
1.4%%
6.8%
6.8%
10.3%%
-
-10.5%%
3.
3.1%%
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY)
22.7%
22.7%
36.0%
36.0%
24.9%
24.9%
18.2%
18.2%
14.3%
14.3%
8.6%
9.9%
14.6%
10.1%
%qoq_SA / %mom_SA
13.8%
13.8%
27.4%
27.4%
-
-2.6%2.6%
-
-15.7 %15.7 %
2.0%
8.9%
9.7%
6. เสถียรภาพเศรษฐกิจยังอยู่ในเกณฑ์ดี: สะท้อนจากอัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ร้อยละ 0.19 ขณะที่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 0.37 ส่วนสัดส่วนหนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ร้อยละ 63.4 ต่อ GDP1 ซึ่งยังอยู่ภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังที่ตั้งไว้ตามพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 สาหรับเสถียรภาพภายนอกยังอยู่ในระดับที่มั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนจาก ทุนสารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนเมษายน 2567 อยู่ในระดับสูงที่ 221.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
ภายในประเทศ
อัตราการว่างงาน (%)
1.0%
1.0%
1.1%
1.0%
0.8%
1.0%
1.0%
1.1%
1.0%
สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%)
1.74%
1.94%
2.13%
1.93%
1.74%
1.78%
1.84%
1.93%
1.93%
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY)
1.23%
3.88%
1.14%
0.52%
?0.53%
?0.78%
?0.47%
0.19%
?0.54%
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY)
1.27%
2.23%
1.51%
0.76%
0.60%
0.44%
0.37%
0.37%
0.42%
หนี้สาธารณะต่อ GDP (%)
61.9%
61.3%
61.3%
61.6%
61.6%
62.4%
62.4%
61.9%
63.4%
63.4%
n.a.
63.4%
ภายนอกประเทศ
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
7.0
3.5
?1.1
2.5
2.0
2.9
1.1
n.a.
2.9
ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
224.5
224.5
224.5
218.2
218.2
211.8
211.8
224.5
223.4
223.4
221.1
221.1
221.1
ฐานะสุทธิ Forward (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)
30.1
27.1
30.5
29.8
30.1
29.6
29.6
28.1
28.1
28.1
28.1
1GDP คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross domestic product: GDP)
- 7 -
ตารางที่ 1 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจ (Economic Indicators) ในเดือนเมษายน 2567 เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD ภาวะเศรษฐกิจภายนอก
ราคาน้ามันดิบ Dubai (ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล) /7
82.0
80.3
77.7
86.8
89.7
81.6
84.7
89.4
83.5
อัตราดอกเบี้ย Federal Fund (%)/7
5.25?5.50
4.75-5.00
5.00?5.25
5.25?5.50
5.25?5.50
5.25?5.50
5.25?5.50
5.25?5.50
5.25?5.50 ด้านอุปสงค์
การบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่ (%YoY)/1
-1.7
0.5
?2.7
?6.4
1.9
0.8
?0.0
4.7
1.8
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์นั่ง (%YoY)/13
10.3
2.3
17.2
10.5
13.0
?15.3
?24.8
?14.4
?15.1
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%YoY)/12
4.6
13.5
6.6
0.3
?2.3
?10.2
?17.5
3.7
?7.4
ปริมาณการนาเข้าสินค้าอุปโภคในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /14
-0.7
?0.8
?4.3
?0.1
2.5
?0.7
?9.0
5.1
0.6
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจโดยรวม (ระดับ) /5
56.7
52.7
55.8
57.1
61.0
63.2
63.0
62.1
63.0 การลงทุนภาคเอกชน
ปริมาณการนาเข้าสินค้าทุนในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY)/14
3.8
?4.7
1.2
3.6
16.5
16.6
12.0
17.4
16.8
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ (YoY)/13
-
-17.3
?10.2
?12.8
?22.9
?23.3
-
-29.7
-
-32.8
-25.1
-
-28.7
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์รวม (%YoY) /1
-2.4
19.3
?5.1
0.4
?17.5
?11.5
-13.5
13.6
?6.6
ปริมาณจาหน่ายปูนซีเมนต์ (%YoY) /14
1.2
?3.3
3.9
5.0
?0.4
?9.1
?11.8
-9.4
?9.1
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง (%YoY) /4
0.1
2.2
?1.2
?0.2
?0.2
-
-1.1
-
-1.2
-1.1
?1.1 การค้าระหว่างประเทศ
มูลค่าการส่งออก (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ); ระบบศุลกากร/4
284.6
71.2
71.6
71.9
69.9
71.0
25.0
23.3
94.3
(%YoY) /4
?1.0
?3.3
?5.2
?0.5
5.8
-
-0.2
-
-10.9
6.8
1.4
ราคาสินค้าส่งออก (%YoY) /4
1.2
2.0
0.3
1.1
1.4
1.3
1.6
1.5
1.3
ปริมาณการส่งออก (%YoY) /14
?2.1
?5.1
?5.4
?1.6
4.4
-
-1.5
-
-12.2
5.3
0.1
มูลค่าการนาเข้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ระบบศุลกากร/4
289.8
72.7
73.5
71.4
72.1
75.5
26.1
24.9
100.4
(%YoY) /4
?3.7
?0.7
?7.7
?10.7
5.8
3.8
5.6
8.4
4.9
ราคาสินค้านาเข้า (%YoY) /4
?0.8
2.0
?3.1
?1.7
?0.5
-1.1
0.1
0.9
?0.6
ปริมาณการนาเข้า (%YoY) /14
?2.9
?2.6
?4.7
?9.2
6.3
5.0
5.5
7.4
5.5
ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ);ระบบศุลกากร/4
?5.2
?1.5
?1.9
0.5
?2.3
-
-4.5
-
-1.2
?1.6
?6.1 ด้านอุปทาน
ภาคการเกษตร
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร (%YoY) /6
0.7
2.2
1.2
1.2
?1.0
?5.0
?5.0
?9.9
?6.1
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร (%YoY) /6
?2.0
?1.2
?5.3
?1.6
0.1
5.6
7.4
14.2
7.7
รายได้เกษตรกรที่แท้จริง (%YoY) /14
?2.1
?2.5
?5.4
?0.8
?0.6
0.9
2.3
2.3
1.2
การจ้างงานภาคเกษตร (%YoY) /3
1.1
1.6
?0.2
2.0
1.0
?5.7
?4.7
?6.1
?5.4 ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY) /9
-3.8
?2.1
?4.9
?5.3
?2.9
-3.6
-4.9
3.4
-2.1
มูลค่าการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /4
-9.7
?5.0
?12.5
?18.4
?0.6
4.7
-
-1.9
19.8
8.3
- 8 -
เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจรายเดือน 2566 2566 2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 มี.ค. เม.ย. YTD
ปริมาณการนาเข้าวัตถุดิบในรูปดอลลาร์สหรัฐ (%YoY) /14
-11.8
?7.5
?14.1
?20.2
?3.2
3.1
?3.7
17.2
6.4
อัตราการใช้กาลังการผลิต (%) /9
59.6
64.2
58.6
58.4
57.4
59.5
62.3
55.3
59.1
การจ้างงานภาคอุตสาหกรรม (%YoY) /3
0.4
-0.1
1.8
1.0
-1.2
2.2
1.5
1.3
1.4
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)/8
92.6
96
93.9
91.2
89.4
91.0
92.4
90.3
90.8 ภาคบริการ
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ(ล้านคน)/10
28.15
6.53
6.44
7.09
8.1
9.37
2.98
2.76
12.13
(%YoY) /14
154.4
1,237.40
311.4
97.9
49.1
43.5
31.4
26.4
39.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (%YoY)/10
22.7
36
24.9
18.2
14.3
8.6
9.9
14.6
10.1
การจ้างงานภาคบริการ (%YoY) /3
2.8
4.0
2.9
1.0
3.5
2.1
2.4
1.8
2.0 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจต่างประเทศ
อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย (บาท/ดอลลาร์สหรัฐ)/2
34.8
33.9
34.5
35.2
35.7
35.7
36.0
36.8
35.9
ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
7.0
3.5
?1.1
2.5
2.0
2.9
1.1
n.a.
2.9
ทุนสารองทางการ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
224.5
224.5
218.2
211.8
224.5
223.4
223.4
221.1
221.1
ฐานะซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าสุทธิ (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)/2
30.1
27.1
30.5
29.8
30.1
29.6
29.6
28.1
28.1 เสถียรภาพทางเศรษฐกิจในประเทศ
อัตราการว่างงาน (%) /3
1.0
1.0
1.1
1.0
0.8
1.0
1.0
1.1
1.0
สัดส่วนผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานสะสมต่อจานวนผู้ประกันตน ม.33 (%)
1.74
1.94
2.13
1.93
1.74
1.78
1.84
1.93
1.93
ดัชนีราคาผู้ผลิต (%YoY) /4
?2.4
0.7
?5.0
?3.4
?1.8
1.2
2.1
3.4
1.7
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%YoY) /4
1.23
3.88
1.14
0.52
?0.53
?0.78
?0.47
0.19
?0.54
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (%YoY) /4
1.27
2.23
1.51
0.76
0.60
0.44
0.37
0.37
0.42
หนี้สาธารณะต่อ GDP(%) /1
61.9
61.3
61.6
62.4
61.9
63.4
63.4
n.a.
63.4
เครื่องชี้ภาคการคลัง FY2566 FY2566 FY2567 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 มี.ค. เม.ย. FY/YTD
รายจ่ายปีปัจจุบัน (พันล้านบาท)
3,088.4
982.2
709.7
742.1
654.3
910.1
570.7
193.1
191.6
1,672.6
%YoY
5.3%
-
-0.1%
17.1%
9.3%
-
-1.4%
-
-7.3%
-19.6%
-
-22.2%
-11.3%
-12.3%
รายจ่ายประจา (พันล้านบาท)
2,610.2
858.7
600.5
625.2
525.6
859.1
529.5
178.2
167.9
1,556.6
%YoY
3.7%
-
-3.1%
16.5%
9.5%
-
-3.4%
0.0%
-11.8%
-
-11.3%
-9.5%
-5.4%
รายจ่ายลงทุน (พันล้านบาท)
478.1
123.4
109.2
116.8
128.6
51.0
41.2
14.9
23.7
116.0
%YoY
15.0%
27.3%
20.0%
7.80%
7.7%
-
-58.6%
-62.2%
-
-68.6%
-22.4%
-55.9%
รายจ่ายปีก่อน (พันล้านบาท)
173.9
58.9
44.5
27.9
42.5
53.5
36.4
12.2
6.9
97.0
%YoY
-
-18.6%
-
-22.0%
-
-22.7%
-
-12.2%
-
-12.6%
-
-9.1%
-18.1%
-
-25.0%
-31.2%
-14.6%
รายจ่ายรวม (พันล้านบาท)
3,262.3
1,041.1
754.2
770.0
696.8
963.7
607.2
205.3
198.6
1,769.6
%YoY
3.7%
-
-1.7%
13.6%
8.3%
-
-2.1%
-
-7.4%
-19.5%
-
-22.4%
-12.2%
-12.5%
ที่มา: 1/กระทรวงการคลัง 2/ธนาคารแห่งประเทศไทย 3/สานักงานสถิติแห่งชาติ 4/กระทรวงพาณิชย์ 5/มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 6/สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 7/Reuters 8/สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 9/สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 10/กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 11/ กรมจัดเก็บประกอบด้วยกรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร 12/กรมการขนส่งทางบก 13/บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด 14/คานวณโดยสานักงานเศรษฐกิจการคลัง


          ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ