รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 7 มิ.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday June 11, 2024 14:14 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ค. 67 เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 1.5 ต่อปี เนื่องจากการสูงขึ้น

ของราคาสินค้ากลุ่มพลังงานเป็นหลัก รวมทั้งราคาอาหารสด อาทิ ผักสดและไข่ไก่

จากสภาพอากาศร้อน อย่างไรก็ดี มีสินค้าที่ปรับลดลงได้แก่ เนื้อสุกร มะนาว

ข้าวสารเจ้า เป็นต้น และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน

ยังคงขยายตัวร้อยละ 0.4 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค. 67 ลดลงร้อยละ -0.3 ต่อปี เนื่องจาก

สาเหตุมาจากการลดลงของราคาในหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก หมวดซีเมนต์

หมวดสุขภัณฑ์ และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน เม.ย. 67 คิดเป็นร้อยละ 63.78 ของ GDP

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน พ.ค. 67 เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 1.51.5ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน พ.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.5 (YoY) จากการสูงขึ้นของราคาสินค้ากลุ่มพลังงานเป็นหลัก อาทิ น้ามันเชื้อเพลิง (น้ามันเบนซิน แก๊สโซฮอล์และราคาน้ามันดีเซลที่ปรับเพดานราคาขึ้นเป็น 33บาทต่อลิตร) ค่ากระแสไฟฟ้าที่สูงขึ้นมากกว่าปีก่อน (ปี 66 มีมาตรการช่วยเหลือค่าไฟฟ้าประเภทผู้อยู่อาศัย) รวมทั้งราคาอาหารสด อาทิ ผักสดและไข่ไก่ จากสภาพอากาศร้อน โดยเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 0.6 (MoM) จากการสูงขึ้นของราคาน้ามันดีเซลและสินค้ากลุ่มอาหารสด ได้แก่ เนื้อสุกร ไก่สด ไข่ไก่ ผักสด และผลไม้สด เป็นต้น

?

อย่างไรก็ดี มีสินค้าที่ปรับลดลงได้แก่ เนื้อสุกร มะนาว ข้าวสารเจ้า เป็นต้น

?

เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่า หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง หมวดไฟฟ้าน้าประปาและแสงสว่าง หมวดอาหารสด และหมวดอาหารส้าเร็จรูป เป็นปัจจัยบวกที่ท้าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.50.50.3และ 0.1ตามล้าดับ

?

และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัว +0.4 (YoY) และทรงตัวที่ร้อยละ 0.08 (MoM) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค. 6767ลดลงร้อยละ 0.30.3เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน พ.ค. 6767ลดลงร้อยละ 0.30.3เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 144สาเหตุมาจากหมวดเหล็กและผลิตเหล็ก ลดลงร้อยละ 1.51.5จากราคาเหล็กในตลาดโลก (เอเชีย จีน) หมวดซีเมนต์ ลดลงร้อยละ 1.21.2จากการแข่งขันที่สูงและต้นทุนพลังงานที่ลดลง และหมวดสุขภัณฑ์ที่ลดลงร้อยละ 4.04.0จากการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์เป็นผลมาจากอัตราดอกเบี้ยและหนี้ครัวเรือนที่สูง และหมวดวัสดุก่อสร้างอื่น ๆ ลดลงร้อยละ 1.11.1ขณะที่หมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดซีเมนต์ หมวดผลิตภัณฑ์คอนกรีต หมวดวัสดุฉาบผิว และหมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา มีดัชนีราคาสูงขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน เม.ย. 67 มีจ้านวนทั้งสิ้น11,523,700 95ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 63.78 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 4949,546546.9696ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต้ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 84.6666ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.788ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE Index) เดือน เม.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า และ Core PCEPCEเดือน เม.ย. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ 48.7ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 49.2จุด ต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 49.6จุด

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (26พ.ค. -1มิ.ย. 67) อยู่ที่ 2.29แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.20 แสนราย ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.22แสนราย

การขาดดุลการค้าในสหรัฐฯ เดือน เม.ย. 67 ที่ -74.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นการขาดดุลมากที่สุดนับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565

สหรัฐอเมริกา

จีน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.5จุด และอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด ต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 17โดยได้รับแรงสนับสนุนจากอุปสงค์ภายในประเทศและภายนอกประเทศ

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือน เม.ย. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการน้าเข้า เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวจากที่หดตัวเดือน เม.ย. 67ที่ร้อยละ 1.9จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 82.62 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือน เม.ย. 67ที่เกินดุลที่ระดับ 72.35พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ยูโรโซน

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 45.7จุด โดยนับเป็นระดับที่สูงสุดนับตั้งแต่เดือน มี.ค. 66บ่งชี้การหดตัวในภาคอุตสาหกรรมของยูโรโซนเป็นระยะเวลานาน 1ปี

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ 50.4 เพิ่มขึ้นจากระดับ 49.6 ในเดือนก่อนหน้า โดยเป็นการขยายตัวของกิจกรรมโรงงานเป็นครั้งแรกนับจาก พ.ค. 66เนื่องจากการเติบโตใหม่ของสินค้าคงคลังก่อนการผลิตและปริมาณค้าสั่งซื้อและการผลิตใหม่ที่มีเสถียรภาพในวงกว้าง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ 53.8 ลดลงจากระดับ 54.3ในเดือนก่อนหน้า เป็นการเติบโตภาคบริการที่เบาบางสุดนับจาก ก.พ. 67

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า โดยดัชนี PMI ที่อยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม

เวียดนาม

สิงคโปร์

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (SIPMM PMI) ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 50.6 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 จากค้าสั่งซื้อเพื่อการส่งออกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ PMI

อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัดส่วนราว 1ใน 3ของกิจกรรรมทั้งหมาดที่เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 51.1

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.2 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15จากการเพิ่มขึ้นของธุรกิจและผลผลิตใหม่ รวมถึงการจ้างงานเพิ่ม

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 67 หดตัวร้อยละ -1.2 ต่อปี (ร้อยละ -2.7 ต่อเดือน)หดตัวครั้งแรกในรอบ 4เดือน และหดตัวมากสุดนับจาก ก.พ.65

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.6 (สูงสุดนับจาก พ.ค. 65) กลับมาขยายตัวหลังจากหดตัวติดต่อกัน 2เดือน จากยอดสั่งซื้อใหม่และอุปสงค์ทั้งในและต่างประเทศที่เข้มแข็ง

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี (ร้อยละ 0.1 ต่อเดือน) ต้าสุดนับนับจาก ก.ค. 66

เกาหลีใต้

GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 7.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.6 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 6.7 การขยายตัวในไตรมาสนี้แสดงให้เห็นว่า อินเดียเป็นประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจมากที่สุดในโลก โดยได้แรงหนุนหลักจากผลผลิตภาคการผลิต

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI) (final) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 57.5ลดลงจากระดับ 58.8ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากผลกระทบของคลื่นความร้อนส่งผลให้ภาคการผลิตเติบโตได้ช้าลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI)PMI)( เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 60.4 ถึงแม้จะลดลงจากระดับ 60.8ในเดือนก่อนหน้า แต่ค้าสั่งซื้อใหม่ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส้าคัญ โดยได้รับแรงหนุนจากภาวะทางเศรษฐกิจและอุปสงค์ที่เอื้ออ้านวย

GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.1 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) จากต้นทุนการกู้ยืมและเงินเฟ้อที่ยังคงอยู่ในระดับสูงท้าให้ผู้บริโภคลดการใช้จ่าย

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการฟื้นตัวจากยอดขายสินค้าในครัวเรือน ห้างสรรพสินค้า ร้านกาแฟ ร้านอาหาร และเดลิเวอรี่ เป็นส้าคัญ

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน เม.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -5.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -12.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการน้าเข้าสินค้า เดือน เม.ย. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 10.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน เม.ย. 67 เกินดุลที่ระดับ 5.81 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 8.89พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 49.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.6จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงต้ากว่าระดับ 50จุดบ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลียยังคงมีการหดตัว

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.6จุด โดยมีปัจจัยหนุนจากธุรกิจส่งออกใหม่ที่เพิ่มขึ้น

ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.84 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.9จุด อย่างไรก็ดี ดัชนีฯ ยังคงสูงกว่าว่าระดับ 50จุดบ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียยังคงมีการขยายตัว

อินโดนีเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (final) เดือน พ.ค. 67อยู่ที่ระดับ 52.9 จุด ลดลงจากระดับ 55.0จุด ในเดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ยังคงอยู่เหนือระดับ 50จุด ต่อเนื่องกัน 7เดือน สะท้อนถึงภาคบริการที่ยังคงขยายตัว

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคอุตสาหกรรม (final) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 49.1จุด ในเดือนก่อนหน้า และสูงสุดนับจาก ก.ค. 65โดยได้รับแรงสนับสนุนจากงานใหม่ที่เพิ่มขึ้น สภาวะตลาดที่แข็งแกร่งขึ้น

ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 45.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.3จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงต้ากว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของอิตาลียังคงมีการหดตัว

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.3จุด

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 45.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 42.5จุด และสูงที่สุดในรอบ 4เดือน บ่งชี้การปรับดีขึ้นของภาคอุตสาหกรรม

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ของก้าลังแรงงานรวม เป็นเดือนที่ 6ติดต่อกัน และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 54.0 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.2 จุด โดยดัชนี PMIPMIอยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคอุตสาหกรรม

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น

Heng SengSeng(ฮ่องกง) ShanghaiShanghai(จีน) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 6มิ.ย. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,31,328.41จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 4-6 มิ.ย. 67 อยู่ที่43,406.69 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะทีนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 4 -6มิ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -5,549.30ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 -20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 ปี และ 26 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.82 และ 1.50 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่4 -6 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 2,576.58 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 6 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-47,273.37ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่6 มิ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 36.49 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.12จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุล เปโซ และวอน อ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.99

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ