รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 21 มิ.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday June 26, 2024 13:50 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ ร้อยละ 7.4 ต่อปี

เนื่องจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในหมวดพืชผลสาคัญ และผลผลิตในหมวดปศุ

สัตว์ขยายตัว และดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.4

ต่อปี เนื่องจากดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว

? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 88.5 เนื่องจาก

กาลังซื้อที่ลดลงจากเศรษฐกิจที่ยังมีความไม่แน่นอน ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นเนื่องมาจากราคา

น้ามันเชื้อเพลิง การแข่งขันทางการค้าที่รุนแรง และและสภาพอากาศที่มีความแปรปรวนส่งผล

ต่อผลผลิตทางการเกษตร

? ป ริม ณก ร จ ห น่า ย ปูน ซีเ ม น ต์ภ ย ใ น ป ร เ ท ศ เ ดือ น พ . ค . 6 7 ห ด ตัว ที่ร้อ ย ล

-10.8 ต่อปี เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวได้ต่า และการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์จาก

หนี้ครัวเรือน

? มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.2 ต่อปี เนื่องจาก กลุ่มสินค้าเกษตร

และสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง ยางพารา เป็นต้น สินค้า

อุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์

และส่วนประกอบ เป็นต้น และมูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -1.7 ต่อปี

เนื่องจากกลุ่มสินค้าทุน และสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 118.8 ต่อปี โดย รายจ่ายปี

ปัจจุบัน ขยายตัวร้อยละ 125.2 ต่อปี ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น รายจ่ายขยายตัวร้อยละ 108.2

ต่อปี และ รายจ่ายลงทุน ขยายตัวร้อยละ 13.5 ต่อปี ในส่วนรายจ่ายปีก่อนหดตัวที่ร้อยละ

-16.4 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 6.5

ต่อปี เนื่องจากภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน และรายได้รัฐวิสาหกิจที่ขยายตัว

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจานวน - 170,208 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ ร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 1.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน พ.ค. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม ในหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว ร้อยละ 13.3ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 0.4และหมวดประมง หดตัวร้อยละ -11.9 ผลผลิตปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล และสุกร ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมหดตัวลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน พ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -4.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน พ.ค. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 10.2 หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมง หดตัวอยู่ที่ ร้อยละ -9.0 และหดตัวร้อยละ -2.6 ตามลาดับ โดยราคาข้าวเปลือก ยางพารา และไข่ไก่ ปรับเพิ่มขึ้น ยกเว้น มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมราคาปรับลดลง ยั

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน พ.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 11.0 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา และกลุ่มไม้ผล เป็นสาคัญ

ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 67อยู่ที่ระดับ 88.5ลดลงจากระดับ 90.3ในเดือนก่อนหน้า

*ประกอบด้วย ยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และผลประกอบการ

ที่มา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

88.5

95.7

70.0

80.0

90.0

100.0

110.0

May-19

Oct-19

Mar-20

Aug-20

Jan-21

Jun-21

Nov-21

Apr-22

Sep-22

Feb-23

Jul-23

Dec-23

May-24

TISI

TISI (E)

ดัชนี TISITISIเดือน พ.ย. 67 ลดลงจากเดือนก่อนมาอยู่ที่ระดับ 88.5 จาก 90.3 โดยมีปัจจัยลบสาคัญคือ 1) กาลังซื้อที่ลดลงจาก เศรษฐกิจที่ยังมีความไม่แน่นอนปัญหาหนี้ครัวเรือนและสัดส่วนหนี้เสียที่สูง 2) ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นเนื่องมาจากราคาน้ามันเชื้อเพลิง อัตราค่าระวางเรือและปัญหาการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ 3) การแข่งขันทางการค้าที่รุนแรงขึ้น ซึ่งเป็นต้นเหตุจากสินค้าราคาถูกจากต่างประเทศที่เข้ามาท่วมตลาด และ 4) สภาพอากาศที่มีความแปรปรวนส่งผลต่อผลผลิตทางการเกษตร อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยบวก คือความต้องการที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในช่วงเปิดภาคเรียน การส่งออกที่มากขึ้นจากแรงหนุนของวิกฤตอาหารโลก และค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงซึ่งส่งผลดีต่อผู้ส่งออก สาหรับดัชนีฯ คาดการณ์ 3 เดือนข้างหน้า เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 95.7 ลดลงจากระดับ 98.3 โดยมีปัจจัยเสี่ยงหลักมาจาก ปัญหาค่าน้ามันและความไม่แน่นอนในการขนส่งจากปัญหาภูมิรัฐศาสตร์ในตะวันออกกลาง สงครามการค้าสหรัฐฯ และจีน และนโยบายการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่า 400 บาททั่วประเทศล่าช้า แต่ก็ยังมีปัจจัยบวกจาก การเร่งเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐปี 2567มาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยว เช่น การยกเว้นวีซ่า และมาตรการภาษี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -10.8 เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน

Cement Sales

ในเดือน พ.ค. 67 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นการ ลดลงต่อเนื่อง 7 เดือน

เนื่องจาก เศรษฐกิจขยายตัวได้ต่า และการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์จากหนี้ครัวเรือนและอัตราดอกเบี้ยอยู่

ในระดับสูง ทาให้ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในการก่อสร้างลดลง ขณะที่ราคาปูนซีเมนต์ได้ปรับตัวลดลงจากปีก่อน

มูลค่าการส่งออกในเดือน พ.ค.6767มีมูลค่าอยู่ที่ 26,219.5,219.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ 7.27.2เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 2.3

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัยขยายตัวร้อยละ 6.5เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง ยางพารา อาหารสัตว์เลี้ยง ไก่แปรรูป ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์ผลไม้กระป๋องและแปรรูป สิ่งปรุงรสอาหาร นมและผลิตภัณฑ์นม

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องโทรศัพท์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ทองแดงและของทาด้วยทองแดง ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่าการส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐ สหภาพยุโรป และอาเซียน

มูลค่าการนาเข้าในเดือน พ.ค. 67 มีมูลค่า 25,563.3,563.3ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการหดตัวที่ร้อยละ 1.71.7เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ -4.0

การนาเข้าของไทยหดตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าทุน และสินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง

ด้านดุลการค้าในเดือน พ.ค. 67 เกินดุลมูลค่า 656.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -5,460.7,460.7ล้านดอลลาร์สหรัฐ

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน พ.ค. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 436,769 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 118.8 ต่อปี ทาให้ 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 67 เบิกจ่ายที่ร้อยละ 60.7

7

ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 429,262 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 125.2ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 60.4ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา 314,072ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 108.2ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 71.2และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 115,190 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 13.5ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 27.2(2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 7,507ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -16.4ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 65.9ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน พ.ค. 67ได้ 290,412ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 6.5ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวจาก ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 125.1 และรายได้รัฐวิสาหกิจ ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 79.8

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน พ.ค. 67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน 170,208ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่เกินดุล 9,102 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 161,106ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 125,290 ล้านบาท ส่งผลให้จานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 394,260ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (9 -15 มิ.ย. 67) อยู่ที่ 2.38 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.35 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.32แสนราย

สหรัฐอเมริกา

จีน

ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับลูกหนี้ชั้นดี (Loan Prime

Rate LPR) ประเภท 1 ปี ไว้ที่ระดับร้อยละ 3.45 และคงอัตราดอกเบี้ย LPR ประเภท 5ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.95ซึ่งเป็นไปตามการคาดการณ์ของตลาด

ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 16

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 5.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 6.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัวน้อยกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 6

คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลักของญี่ปุ่น (Machinery Orders) ซึ่งไม่รวมคาสั่งซื้อสาหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า เดือน เม.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.7 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -2.9ต่อเดือน) สาเหตุจากยรายจ่ายที่นาไปใช้ในการลงทุนได้ลดลง จากการผลิตที่ลดลงอย่างมาก

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67ขาดดุล -1,221พันล้านเยน ขาดดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 13.5 ต่อปี ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่หก จากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นจากสหรัฐและจีน ในขณะที่การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 9.5ต่อปี เนื่องจากการซื้อเชื้อเพลิงแร่ที่สูงขึ้น

ญี่ปุ่น

ยูโรโซน

ดัชนีความเชื่อมั่น เดือน มิ.ย. 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ระดับ -14.0 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ -14.3 จุด แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ -13.6 จุด โดยระดับความเชื่อมั่นที่สูงขึ้น เป็นผลจากปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ ECBECBเป็นครั้งแรก หลังจากอัตราเงินเฟ้อชะลอลงต่อเนื่อง

การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 7.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็น 61.9 พันล้านดอลลาร์ ในขณะเดียวกัน การส่งออกขยายตัวร้อยละ 9.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อซึ่งสูงที่สุดในรอบ 7 เดือน เป็น 38.13 พันล้านดอลลาร์ โดยได้แรงหนุนจากอุปสงค์จากต่างประเทศที่แข็งแกร่งสาหรับสินค้าวิศวกรรม ยานพาหนะ และสมาร์ทโฟน

ดุลการค้า (Balance of Trade) เดือน พ.ค. 67 ขาดดุลเพิ่มขึ้นเป็น 23.8 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการขาดดุลในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขาดดุลมากที่สุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค 66

อินเดีย

การส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามัน (NODX) เดือน พ.ค.67หดตัวร้อยละ -0.1ต่อปี (หดตัวร้อยละ -0.1 ต่อเดือน) หดตัวชะลอลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่สาม ในดือนก่อนหน้า อย่างไรก็ดี นับเป็นการหดตัวต่อปีต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4จากการลดลงของการส่งออกสินค้าด้านโทรคมนาคม เป็นหลัก

ดุลการค้า เดือน เม.ย.67 เกินดุล 4,563.11ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ทั้งนี้ ดุลการค้าในสิงคโปร์เฉลี่ยอยู่ที่ 12 348.9ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ตั้งแต่ปี 07ถึงปี 67

อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว)(Final) ไตรมาส 1 ปี 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.1 สูงสุดนับจากไตรมาส 3ปี 65

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ต่อปี สูงสุดนับจาก ก.พ.67จากราคาเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การอุดหนุนราคาพลังงานได้สิ้นสุดลง

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 2.2 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ท่ามกลางกระแส ราคาพลังงานพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าไฟฟ้าเนื่องจากรัฐบาลยกเลิกเงินอุดหนุนทั้งหมด

สิงคโปร์

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.35 ต่อปี

ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อนลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อขยายตัวลดลงเนื่องจาก ราคาอาหาร ภัตตาคาร และโรงแรมปรับตัวลดลง

ธนาคารกลางอังกฤษประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ ร้อยละ 5.25 ต่อปี สาหรับการประชุมในเดือน มิ.ย. 67ซึ่งสอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด

การส่งออก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 9.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวเพียงร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการส่งออกสินค้าในภาคอุตสาหกรรม ในหมวดผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และหมวดผลิตภัณฑ์จากโลหะ รวมไปถึงภาคเกษตรกรรม ในหมวดปาล์มน้ามัน เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดสินค้าทุน เป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 เกินดุลอยู่ที่ 1.01 หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 7.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 9.1 พันล้านริงกิตมาเลเซียธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 6.25ต่อปี

มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.99จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -8.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 10.11จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 2.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 2.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อินโดนีเซีย

การส่งออก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 9.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวเพียงร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการส่งออกสินค้าในภาคอุตสาหกรรม ในหมวดผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ และหมวดผลิตภัณฑ์จากโลหะ รวมไปถึงภาคเกษตรกรรม ในหมวดปาล์มน้ามัน เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดสินค้าทุน เป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 เกินดุลอยู่ที่ 1.01 หมื่นล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 7.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 9.1 พันล้านริงกิตมาเลเซีย

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ที่ร้อยละ 0.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อิตาลี

อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหาร (อาหารสด) และหมวดพลังงาน (ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม) เป็นสาคัญ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225 ญี่ปุ่น

STISTI(สิงคโปร์) ShanghaiShanghai(จีน) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,1,298.29จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 17-20 มิ.ย. 67 อยู่ที่44,934.04 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 17 -20 มิ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -9,099.99 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5-20ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่17 -20 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -7,051.14 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 20 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-58,147.25ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่20 มิ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 36.71 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.22จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตวอน และดอลลาร์สิงคโปร์ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเปโซ และดอลลาร์ไต้หวัน แข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.03

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ