เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -1.5 ต่อปี เนื่องจากผลผลิตที่หดตัว
ต่อเนื่อง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์จากแร่อโลหะ (คอนกรีต
ปูนซีเมนต์) จากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อของกลุ่มยานยนต์ ความต้องการในตลาดโลกที่ยังไม่ฟื้น
ตัวของกลุ่มคอมพิวเตอร์ และการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ส่งผลให้การสั่งซื้อสินค้าวัสดุก่อสร้าง
ลดลง
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.1
ต่อปี เนื่องจากการก่อสร้างภาครัฐและรัฐวิสาหกิจที่เป็นโครงการต่อเนื่อง รวมทั้งภาคเอกชนที่มี
การก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ .ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.4 ต่อปี
เนื่องจากจากจัดเก็บในค่าการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากขยายตัว
ของภาคการท่องเที่ยวเป็นสาคัญ
? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.3 ต่อปี เนื่องจากปัจจัย
บวกมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านภาคธุรกิจอสังหาฯ รวมทั้งการขยายตัวของการบริโภค
ภายในประเทศ
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ค. 67 หดตัวลงร้อยละ -28.1 ต่อปี เนื่องจากความเข้มงวดของ
สถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหา
การแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้ผู้บริโภคชะลอการซื้อ
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ .ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -20.2 ต่อปี เนื่องจาก
เศรษฐกิจที่เติบโตต่า ปัญหาหนี้ครัวเรือนส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ และ
อัตราดอกเบี้ยยังคงอยู่ในระดับสูง ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 30.8 ต่อปี
เนื่องจากการยกเว้นวีซ่าให้กับนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ ได้แก่ จีน คาซัคสถาน อินเดีย และไต้หวัน
ทั้งนี้ ภาคการท่องเที่ยวแนวโน้มการขยายตัวที่เข้าในทิศทางเดียวกันกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ
COVID-19 มากขึ้น สะท้อนการเริ่มเข้าสู่ภาวะปกติของภาคการท่องเที่ยว
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน พ.ค. 67 กลับมาหดตัวที่ร้อยละ -1.5ต่อปี
Indicators
(%yoy)
2023
2024
Q3
Q4
ทั้งปี
Q1
Apr
May
YTD
ยอดจาหน่ายเหล็ก
5.3
-
3.1 -
6.6 -
5.5 6.3
8.1
-
0.9
%mom_sa,
%qoq_sa
8.3
-
3.5 -
-
5.1 4.5
5.6
Manufacturing Production Index :
MPI
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม
โดยดัชนีกลับมาหดตัวอีกครั้งหลังจากขยายตัวในเดือนก่อน โดยการผลิตสินค้าสาคัญที่หดตัวต่อเนื่อง ได้แก่ การผลิตยานยนต์ คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ และผลิตภัณฑ์จากแร่อโลหะ คอนกรีต ปูนซีเมนต์ ที่หดตัวร้อยละ 14.2 ,,-122.3 และ -88.7 ต่อปี ตามลาดับ* จากความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อของกลุ่มยานยนต์ ความต้องการในตลาดโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวของกลุ่มคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในสินค้า Integrated circuits (IC) และ PCBAPCBAและการชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ส่งผลให้การสั่งซื้อสินค้าวัสดุก่อสร้างลดลง อย่างไรก็ดี ยังมีบางอุตสาหกรรมที่ยังคงขยายตัวได้ โดยเฉพาะในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มที่ขยายตัวตามภาคการท่องเที่ยวและการส่งออก (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI ในระบบ TSIC 22หลัก
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน พ.ค. 6767ขยายตัวที่ร้อยละ 8.18.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวที่ร้อยละ 5.65.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน พ.ค. 6767ขยายตัวร้อยละ 8.18.1โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากปริมาณการจาหน่ายที่ขยายตัวของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน ที่ขยายตัวร้อยละ 89.1 56.856.8และ 36.136.1ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการก่อสร้างภาครัฐและรัฐวิสาหกิจที่เป็นโครงการต่อเนื่อง รวมทั้งภาคเอกชนที่มีการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.4 ต่อปี และขยายตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 1.2
โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากจัดเก็บในค่าการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 16.8 (%YoY) ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนสาคัญจากขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวเป็นสาคัญ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าพลิกกลับมาหดเล็กน้อยที่ร้อยละ 1.0 (%YoY) จากสถานการณ์การนาเข้าสินค้าที่ยังคงฟื้นตัวไม่เต็มที่ โดยรวมแล้วจึงส่งผลให้ปริมาณการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มยังอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 6767ขยายตัวที่ร้อยละ 1.31.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 3.83.8เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน พ.ค. 6767ขยายตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยบวกมาจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐ รวมทั้งการขยายตัวของการบริโภคภายในประเทศ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวจากที่นักท่องเที่ยวต่างชาติข้ามาในประเทศมากขึ้น ทาให้ตลาดอสังหาฯในเมืองท่องเที่ยวขยายตัว แต่ขณะเดียวกัน ปัญหาหนี้ครัวเรือนและอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง ยังส่งผลเป็นปัจจัยลบต่อภาคอสังหาฯ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน พ.ค. 67 มีจานวน 18,686 คัน หดตัวลงร้อยละ -28.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -0.4
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้ผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์ อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาเพิ่มขึ้น และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมการบริโภคของประชาชนและส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 6767มีจานวน 31,18531,185คัน หดตัวที่ร้อยละ
20.220.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 0.10.1ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 35.435.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน พ.ค. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 1818และลดลงจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.10.1เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตต่า ปัญหาหนี้ครัวเรือนส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ และอัตราดอกเบี้ยยังคงอยู่ในระดับสูง ซึ่งส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้ประกอบการ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?เดือนพฤษภาคม 2567 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติยังขยายตัวได้ โดยได้รับแรงสนับสนุนจากมาตรการยกเว้นวีซ่า ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศมีจานวนลดลงจากเดือนก่อนแต่เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วยังขยายตัวได้ดี?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน พ.ค. 67มีจานวน 2.63ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 30.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนโดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย อินเดีย เกาหลีใต้ และลาว ทั้งนี้ โดยจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงจากเดือนก่อนเป็นไปตามฤดูกาลของการท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวรัสเซียลดลงอย่างมีนัยสาคัญ อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่ายังขยายตัวที่ร้อยละ 4.2 ทั้งนี้ เป็นผลจากการยกเว้นวีซ่าให้กับนักท่องเที่ยวจากหลายประเทศ ได้แก่ จีน คาซัคสถาน อินเดีย และไต้หวัน ทั้งนี้ ภาคการท่องเที่ยวแนวโน้มการขยายตัวที่เข้าในทิศทางเดียวกันกับช่วงก่อนการแพร่ระบาดของ COVID 1919มากขึ้น สะท้อนการเริ่มเข้าสู่ภาวะปกติของภาคการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน พ.ค. 67มีจานวน 22.5ล้านคน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 22.5อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวได้ดีที่ร้อยละ 10.0โดยจานวนผู้เยี่ยมเยือนในเดือน พ.ค. ได้รับอานิสงส์จากวันหยุดช่วงวันแรงงาน วันวิสาขบูชา และวันจักรี นอกจากนั้น ยังมีการจัดงานสาคัญต่าง ๆ เช่น งานประเพณีบุญบั้งไฟ ส่งผลให้มีรายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยอยู่ที่ 80,887ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 15.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่งผลให้การใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ยังอยู่ในระดับสูงแม้จะผ่านช่วงเทศกาลสงกรานต์แล้ว โดยอยู่ที่ 3,592บาท/คน/ทริป ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 0.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน พ.ค. 67 ลดลงที่ร้อยละ -5.5 จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)ซึ่งเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 2563 โดยเป็นผลจากยอดสร้างบ้านในทุกประเภท ทั้งบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮมส์และคอนโดมีเนียม
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (16 -22 มิ.ย. 67) อยู่ที่ 2.33 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.36แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.36แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อปี (ร้อยละ 1.7 ต่อเดือน) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.4ต่อปี และสะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 26ของยอดค้าปลีก
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 ติดต่อกันสี่เดือน สูงสุดนับจาก ก.ย. 66เป็นต้นมา
ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.1 ต่อปี สูงกว่าเป้าหมายร้อยละ 2 ของ BOJ
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของโตเกียว (Tokyo CPI) เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.3 ต่อปี เฉลี่ยในช่วงปี 2514-2567อยู่ที่ร้อยละ 2.39
ญี่ปุ่น
ยูโรโซน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (Final) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ -14.0 จุด ปรับดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ -14.3จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ -13.6
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ไตรมาสที่ 1 ปี 67 เกินดุล 5.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เปลี่ยนจากขาดดุล 1.3พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ในไตรมาสก่อน และเป็นการเกินดุลครั้งแรกตั้งแต่เดือน มิ.ย. 64 สาเหตุหลักคือการเกินดุลในดุลบริการ (Service Account)
เพิ่มขึ้น โดยได้แรงหนุนหลักจากการส่งออกบริการที่ขยายตัวร้อยละ 4.1ต่อปี
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 78 สูงสุดนับจาก ส.ค. 65เป็นต้นมา จากการผลิตที่เพิ่มขึ้น สถานการณ์ทางการเงินดีขึ้น และคาสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้น
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน พ.ค.67ขยายตัวร้อยละ 3.5ต่อปี (ร้อยละ -1.2 ต่อเดือน) ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเฉลี่ยในช่วงปี 2519-2567ขยายตัวร้อยละ 8.01
เกาหลีใต้
อัตราการว่างงานเดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.35 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.39ของกาลังแรงงานรวม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 14.5 และเป็นขยายตัวที่แข็งแกร่งที่สุดนับตั้งแต่ ก.ค. 64 ตัวเลขผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของภาคการผลิตและการพลิกกลับมาขยายตัวอีกครั้งของภาคส่วนน้าประปาเป็นสาคัญ
ยอดค้าปลีกเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.6และเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 67ยอดค้าปลีกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในยานยนต์และส่วนประกอบ และการพลิกกลับมาขยายตัวของยอดขายสินค้าในหมวดเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายในร้านค้าเฉพาะทาง และหมวดสินค้าขายปลีกอื่น ๆ ในร้านค้าเฉพาะทาง เป็นสาคัญ
ไต้หวัน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.8และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 1.9อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้เป็นตัวเลขที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค. 66
มาเลเซีย
GDP
GDPไตรมาสที่ 1 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.1และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 2.4
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.3
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.4 จุด และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 46.8จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225
ญี่ปุ่น STISTI(สิงคโปร์) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,1,309.46จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 24-27 มิ.ย. 67 อยู่ที่36,881.91 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 24 -27 มิ.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -6,149.57 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 18 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 22-20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -5 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 21ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 2.2เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่24 -27 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -5,319.48ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 27 มิ.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-65,024.81ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่27 มิ.ย. 67เงินบาทปิดที่ 36.93 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.59จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.21
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง