รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 5 ก.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday July 9, 2024 14:05 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 0.6 ต่อปี ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.5

เนื่องจากการลดลงของอัตราการเปลี่ยนแปลงค่ากระแสไฟฟ้า หลังสิ้นสุดผลกระทบของฐานต่าในเดือน

ก่อนหน้า และการชะลอตัวของราคาผักสด หลังจากสิ้นสุดสภาพอากาศร้อนจัด และเมื่อหักอาหารสดและ

พลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัวร้อยละ 0.4 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 67 เพิ่มขนึ้ ร้อยละ 0.3 ต่อปี เนื่องจาก การสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวด

ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดวัสดุฉาบผิว และผลิตภัณฑ์คอนกรีต เนื่องจาก

การปรับขึ้นของราคาน่ามันดีเซลที่ส่งผลต่อต้นทุนการขนส่ง และปัจจัยบวกจากการเร่งใช้เงินงบประมาณปี

2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มิ.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -14.7 ต่อปี เนื่องจาก

ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้

ที่อยู่ในระดับสูง สร้างแรงกดดันต่อการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนให้ชะลอตัวลง

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 67 คิดเป็นร้อยละ 64.3 ของ GDP ซึ่งยังอยู่ในระดับต่ากว่า

กรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

3

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน มิ.ย. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.6ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 0.6 (YoY) ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.51.5จากการลดลงของอัตราการเปลี่ยนแปลงค่ากระแสไฟฟ้า หลังสิ้นสุดผลกระทบของฐานต่าในเดือนก่อนหน้า และการชะลอตัวของผักสด หลังจากสิ้นสุดสภาพอากาศร้อนจัด โดยเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปลดลงร้อยละ -0.3 (MoM)

จากการลดลงของราคาผักสด และน่ามันเชื้อเพลิง (แก๊สโซฮอล์) เป็นส่าคัญ และสินค้าที่ปรับลดลงได้แก่ เนื้อสุกร มะนาว ข้าวสารเจ้า เป็นต้น

?

เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่า หมวดยานพาหนะและน่ามันเชื้อเพลิง และหมวดอาหารส่าเร็จรูป เป็นปัจจัยบวกที่ท่าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.5และ 0.1ขณะที่หมวดไฟฟ้าน่าประปาและแสงสว่าง เป็นปัจจัยลบที่ท่าให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.22ตามล่าดับ

?

และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน สูงขึ้นร้อยละ 0.4 (YoY) เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าลดลงที่ร้อยละ -0.01 (MoM)

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.30.3เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน มิ.ย. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.30.3เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา โดยปรับเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 1414เดือน สาเหตุมาจากการสูงขึ้นของดัชนีราคาหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดวัสดุฉาบผิว และผลิตภัณฑ์คอนกรีต ที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.0 2.7 1.41.4และ 1.21.2ตามล่าดับ เนื่องจากการปรับขึ้นของราคาน่ามันดีเซลที่ส่งผลต่อต้นทุนการขนส่ง และปัจจัยบวกจากการเร่งใช้เงินงบประมาณปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ ท่าให้มีความต้องการเพิ่มขึ้น ขณะที่ ดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กลดลง ซึ่งเป็นผลกระทบจากปัญหาวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน มิ.ย. 67หดตัวที่ร้อยละ -14.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -4.7

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูง สร้างแรงกดดันต่อการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนให้ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยว และรายได้เกษตรกรที่แท้จริงขยายตัวดีขึ้น ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไปต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน พ.ค. 67 มีจ่านวนทั้งสิ้น11.7.7ล้านล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 64.33ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 0.120.12ล้านล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 84.8ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.8ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน พ.ค. 677เกินดุลที่ 647.0647.0ล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลเล็กน้อยที่ -44.54ล้านดอลลาร์สหรัฐ

โดยเดือน พ.ค. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่-2,177.76ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่2,824.76ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่าหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677เกินดุลรวม 3,215.37ล้านดอลลาร์สหรัฐ

สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน พ.ค. 677มียอดคงค้าง 20.620.61 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 1.1.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.2จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจ และสินเชื่อเพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.5และ 1.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล่าดับ

เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน พ.ค. 677มียอดคงค้าง 25.225.26 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ และเงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 2.0 และ 4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามล่าดับ

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE Index) เดือน พ.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้า และ Core PCEPCEเดือน พ.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.6

ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ 48.5 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 48.7จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ 49.1จุด

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ 48.8 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 53.8จุด ต่ากว่าที่ตลาดคาดที่ 52.5จุด

จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (23-29 มิ.ย. 67) อยู่ที่ 2.38 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.34 แสนราย ทั้งนี้ จ่านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.38แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ยูโรโซน

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 6.4 ของก่าลังแรงงานรวมไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (CaixinCaixin) มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.7จุด นับเป็นระดับที่สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 64

ดัชนีฯ PMIPMIภาบริการ (CaixinCaixin) มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.0 จุด นับเป็นเดือนที่ 18 ติดต่อกันของภาคบริการที่เติบโต แต่เป็นอัตราที่อ่อนตัวที่สุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 66เนื่องจากค่าสั่งซื้อใหม่และการเติบโตของการส่งออกที่ผ่อนคลายลง

จัน

ญี่ปุ่น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ 50.0 ลดลงจากระดับ 50.4 ในเดือนก่อนหน้า แต่ยังสะท้อนการขยายตัวของกิจกรรมโรงงานต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง จากการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น การเคลียร์ของที่ค้างอยู่และการสร้าง Stock ใหม่

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 36.4 เพิ่มขึ้นจากระดับ 36.2ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ 49.4 ลดลงจากระดับ 53.8ในเดือนก่อนหน้า จากการลดลงของกิจกรรมภาคบริการเป็นครั้งแรกนับจาก ส.ค. 65เป็นต้นมา

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Judo BankBank) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 47.2 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.5 จุด นับเป็นการลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5 และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ค. 63

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (Judo BankBank) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.5จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของออสเตรเลียจักรยังคงมีการขยายตัว

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน พ.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -7.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -7.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการน่าเข้าสินค้า เดือน พ.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.07จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 5.88พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 6.02พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.1จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของอินโดนีเซียยังคงมีการขยายตัว

อินโดนีเซีย

สหราชอาณาจักร

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.2จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของสหราชอาณาจักรยังคงมีการขยายตัว

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 54.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.3จุด นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคอุตสาหกรรม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Output) เดือน พ.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 6.3เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ซึ่งมากกว่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 5.6โดยได้แรงหนุนหลักจากการขยายตัวของกิจกรรมการก่อสร้างในประเทศ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI)PMI)( เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 58.3 เพิ่มขึ้นจากระดับ 57.5 ในเดือนก่อนหน้า แต่ต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้เล็กน้อย แสดงถึงสภาวะธุรกิจที่ดีขึ้น โดยมีการขยายตัวของค่าสั่งซื้อใหม่ ผลผลิต และระดับการซื้อ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI)PMI)( เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 60.5 เพิ่มขึ้นจากระดับ 60.2 ในเดือนก่อนหน้า เป็นการเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 35โดยได้รับแรงหนุนจากการเพิ่มขึ้นของค่าสั่งซื้อใหม่และยอดขายต่างประเทศขยายตัวสูงสุดเป็นประวัติการณ์

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.9 จุด เป็นระดับดัชนีที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 65 ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับสูงกว่า 50 บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากระดับการผลิตที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็วที่สุดนับตั้งแต่ ก.ค. 64 และยอดค่าสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบ 3ปี

ไต้หวัน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 49.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.2 จุด กลับไปลดลงอีกครั้งหลังจากที่ดัชนี PMIPMIในเดือน พ.ค.บ่งชี้การขยายตัวของภาคการผลิตของมาเลเซียเป็นเดือนแรกหลังจากที่ดัชนีแสดงการหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องตั้งแต่ ส.ค. 65 ทั้งนี้ปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าดัชนีในเดือนนี้มาจากยอดขายต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3รวมไปถึงยอดค่าสั่งซื้อที่ยังคงเพิ่มขึ้น แต่ในอัตราที่ชะลอลง

มาเลเซีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (SIPMM PMI) ภาคการผลิต เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.4 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 จากค่าสั่งซื้อเพื่อการส่งออกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ PMI อิเล็กทรอนิกส์ที่มีสัดส่วนราว 1ใน 3ของกิจกรรรมทั้งหมาดที่เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 51.2

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) เดือน มิ.ย.67 อยู่ที่ระดับ 55.2 สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16โดยกิจกรรมภาคธุรกิจโตเร็วสุดในรอบ 20เดือน จากการเพิ่มขึ้นของธุรกิจและอุปสงค์ที่เพิ่ม

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 56.8 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 56.9 จุด โดยดัชนีที่อยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคบริการ

สเปน

ดัชนี PMI ภาคบริการ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.1 จุด ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 54.2จุด และดัชนียังอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 43.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.4จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

เยอรมนี

ฝรั่งเศส

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 (เบื้องต้น) อยู่ที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้อยู่ในระดับต่าที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค. 64

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flash เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 46.4 จุด แต่สูงกว่าคาดการณ์ตลาดเล็กน้อยที่ระดับ 45.3 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 17จากยอดการผลิตและจ่านวนธุรกิจเปิดใหม่ที่ลดลง

ดัชนีฯPMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.7 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 45.6จุด ซึ่งดัชนีฯ ยังคงต่ากว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคอุตสาหกรรมของอิตาลียังคงหดตัว

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.2จุด

อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 67 คงที่จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.8 ของก่าลังแรงงานรวม

อิตาลี

เกาหลีใต้

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 67 เกินดุล 8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นการเกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 13 และเป็นการเกินดุลสูงสุดนับจาก ก.ย.63 เป็นต้นมา จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 5.1ต่อปี (ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9) ขณะที่การน่าเข้าหดตัวร้อยละ -7.5ต่อปี

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน พ.ค. 67 เกินดุล 8.92 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลสูงสุดนับจาก ก.ย. 64 เป็นต้นมา จากการเพิ่มขึ้นของการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 11.1 ต่อปี และการลดลงของการน่าเข้าที่หดตัวร้อยละ -1.9 ต่อบัญชี บัญชีสินค้าเกินดุลอยู่ที่ 8.75 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ บัญชีบริการขาดดุล -1.29พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่บัญชีรายได้หลักขาดดุล -1.9พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global PMI) ภาคการผลิต เดือน มิ.ย.67 อยู่ที่ระดับ 52 (สูงสุดนับจาก เม.ย.65) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง จากยอดสั่งซื้อใหม่และยอดการผลิตที่เพิ่มขึ้น

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี (ร้อยละ -0.2 ต่อเดือน) ต่าสุดนับนับจาก ก.ค. 66

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นShanghaiShanghai(จีน) Hang SengSeng(ฮ่องกง) และ S&P/ASX ASX200 (ออสเตรเลีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 4ก.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,1,301.04จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 1 -4 ก.ค. 67 อยู่ที่31,351.59 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1 -4ก.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,533.41 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือน ถึง 1 ปี และ 6 -8 ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 -2 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 99-20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -2 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 32ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.4 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่1-4ก.ค. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -12,244.99 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 4ก.ค. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-77,437.58ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่4 ก.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.61 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.85จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.72

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ