ฉบับที่ 22/2567 วันที่ 27 มิถุนายน 2567
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคเดือนพฤษภาคม 2567
เศรษฐกิจภูมิภาคในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวในทุกภูมิภาค และรายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคตะวันออก และภาคใต้ อย่างไรก็ตาม การลงทุนยังชะลอตัวโดยเฉพาะ กทม. และปริมณฑล และภาคเหนือ
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคประจาเดือนพฤษภาคม 2567 ว่า ?เศรษฐกิจภูมิภาคในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการท่องเที่ยวในทุกภูมิภาคและรายได้เกษตรกรที่เพิ่มขึ้นในหลายภูมิภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคตะวันออก และภาคใต้ อย่างไรก็ตาม การลงทุนยังชะลอตัวโดยเฉพาะ กทม. และปริมณฑล และภาคเหนือ? โดยมีรายละเอียดดังนี้
เศรษฐกิจภาคตะวันตกในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน และรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวได้ อีกทั้งการลงทุนภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้น โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจ ด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 3.4 และ 7.7 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -23.9 ต่อปี แต่ขยายตัว ที่ร้อยละ 3.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ หดตัวที่ร้อยละ -30.2 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 59.4 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 60.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ต่อปี เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ หดตัวที่ร้อยละ -35.7 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 268.2 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ในจังหวัดราชบุรี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนี ความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.6 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 96.5 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 และ 16.2 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันออกในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอย เพื่อการบริโภคของภาคเอกชน และรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวได้ อีกทั้งเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวได้ต่อเนื่อง โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 2.6 และ 40.2 ต่อปี ตามลาดับ ขณะที่จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -25.6 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -11.3 ต่อปี ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค อยู่ที่ระดับ 63.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 64.7 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -39.8 และ -4.1 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.0 และ 9.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ
2
ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 56.3 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานประกอบชิ้นส่วนเหล็กขึ้นรูป ในจังหวัดระยอง เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 89.7 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 88.6 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 16.7 และ 19.3 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑลในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอย เพื่อการบริโภคของภาคเอกชน และรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวได้ ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนหดตัว โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 13.3 และ 19.0 ต่อปี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -22.9 และ -9.9 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค อยู่ที่ระดับ 60.1 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 61.7 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -37.4 และ -18.5 ต่อปี ตามลาดับ แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.4 และ 0.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ตามลาดับ ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัว ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.6 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 96.5 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 และ 8.5 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภคของภาคเอกชน และเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวได้ในระดับสูงต่อเนื่อง ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภคและอุตสาหกรรมปรับลดลง โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจาก การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวที่ร้อยละ 17.8 ต่อปี ขณะที่จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ หดตัวที่ร้อยละ -7.3 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -26.9 และ -4.2 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 63.0 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 64.4 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -36.4 และ -27.2 ต่อปี ตามลาดับทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 1,692.6 ต่อปี โดยเป็นการลงทุนในโรงงานอาหารสาเร็จรูปและแปรรูปสุกร ในจังหวัดศรีสะเกษ เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 73.7 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 76.1 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 22.3 และ 22.4 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคใต้ในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ของภาคเอกชน และเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวได้ ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภค และอุตสาหกรรมปรับลดลง โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ และรายได้เกษตรกรขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 และ 26.9 ต่อปี ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -30.6 และ -1.8 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 57.7 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 59.3 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -28.5 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ หดตัวที่ร้อยละ -42.7 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 61.8 ต่อปี โดยเป็นการลงทุน
3
ในโรงงานผลิตแผ่นไม้ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 87.0 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 90.1 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 30.5 และ 20.2 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคกลางในเดือนพฤษภาคม 2567 มีปัจจัยสนับสนุนจากการจับจ่ายใช้สอยเพื่อการบริโภค ของภาคเอกชน และเงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวได้ ขณะที่ความเชื่อมั่นผู้บริโภค และอุตสาหกรรมปรับลดลง โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.6 ต่อปี อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ จานวนรถจักรยานยนต์ จดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -24.9 -8.5 และ -2.9 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 59.4 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 60.9 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ และจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -36.6 และ -34.6 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการขยายตัวที่ร้อยละ 137.7 ต่อปี โดยเป็นการลงทุน ในโรงงานผลิตอุปกรณ์ชิ้นส่วนยานยนต์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นสาคัญ ด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 93.6 ลดลงจากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 96.5 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 11.7 และ 15.6 ต่อปี ตามลาดับ
เศรษฐกิจภาคเหนือในเดือนในเดือนพฤษภาคม 2567 การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนหดตัว โดยเครื่องชี้เศรษฐกิจด้านการบริโภคภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่หดตัว ที่ร้อยละ -4.4 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ และรายได้เกษตรกรหดตัวที่ร้อยละ -0.6 -24.7 และ -9.2 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 61.2 ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งอยู่ที่ระดับ 62.6 เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน สะท้อนจากจานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -10.9 ต่อปี แต่ขยายตัวที่ร้อยละ 23.4 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล อย่างไรก็ตาม จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่หดตัวที่ร้อยละ -30.3 ต่อปี ทั้งนี้ เงินทุนโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการหดตัวด้านอุปทาน เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม สะท้อนจากดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมอยู่ที่ระดับ 86.5 ลดลง จากเดือนก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ระดับ 90.2 เครื่องชี้ด้านการบริการ สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จาก ผู้เยี่ยมเยือนขยายตัวที่ร้อยละ 5.1 และ 9.1 ต่อปี ตามลาดับ
โดยมีรายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏตามเอกสารแนบ
4
ภาวะเศรษฐกิจการคลังภูมิภาคประจาเดือนพฤษภาคม 2567
ตารางที่ 1 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันตก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-1.9
-8.5
2.1
-10.0
3.4
-0.4
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-3.2
1.3
-18.6
-10.8
-30.2
-19.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
7.4
-5.6
-15.9
-16.5
-23.9
-17.8
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
54.9
59.2
61.5
60.9
59.4
61.0
รายได้เกษตรกร (%yoy)
4.4
4.0
4.9
10.3
7.7
5.8
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-23.6
-18.3
-37.5
-25.4
-35.7
-35.2
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-0.5
-3.2
-3.7
-22.0
3.5
-6.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
7.3
1.1
34.0
0.1
0.4
34.5
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
64.9
-38.3
9,370.0
-
268.2
7,303.4
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-5.4
-6.6
-1.4
10.5
-
1.1
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
95.4
89.5
94.2
96.5
93.6
94.6
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
30.0
16.2
6.0
6.7
7.3
6.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
28.0
15.5
5.3
6.2
6.7
5.7
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
254.7
62.4
37.5
27.6
31.9
34.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
39.3
30.8
21.2
22.3
16.2
20.5
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
33.5
28.7
18.8
21.3
14.8
18.5
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
278.1
77.5
57.8
35.1
34.7
48.0
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.2
-0.6
-0.8
0.3
1.9
-0.1
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.8
0.5
0.9
-
-
0.9
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.8
0.6
0.5
0.5
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
5
ตารางที่ 2 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออก
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-11.4
-1.2
-3.4
1.9
2.6
-1.2
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
2.6
-5.3
-27.8
-28.2
-25.6
-27.4
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
7.5
-9.6
-14.7
2.4
-11.3
-11.3
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
59.1
63.6
65.9
64.7
63.1
65.1
รายได้เกษตรกร (%yoy)
4.4
-21.1
-30.0
-25.7
40.2
-6.6
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-25.4
-30.1
-39.3
-27.5
-39.8
-37.6
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-4.5
0.4
-14.9
-5.8
-4.1
-11.1
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
48.9
7.0
6.8
2.7
2.2
11.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
43.2
4.9
-66.0
170.6
56.3
-47.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-5.5
-1.8
1.2
9.3
-
3.1
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
88.3
85.9
90.1
88.6
89.7
89.7
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
57.0
20.9
10.5
16.9
16.7
13.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
29.0
3.7
2.3
20.8
20.8
9.8
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
419.4
137.7
40.9
4.1
3.7
24.5
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
109.0
52.6
28.6
17.1
19.3
24.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
29.5
3.0
2.2
35.5
29.6
14.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
450.6
167.9
59.8
1.2
9.2
33.9
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.0
-0.2
-0.7
0.1
1.6
-0.1
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.7
0.5
0.8
-
-
0.8
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.6
0.5
0.6
0.7
0.7
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
6
ตารางที่ 3 เครื่องชี้เศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-0.5
1.3
0.6
5.9
13.3
4.1
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
6.0
4.1
-13.4
-21.8
-22.9
-16.7
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
9.7
3.9
-7.8
6.5
-9.9
-6.2
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
56.2
60.9
63.0
61.7
60.1
62.2
รายได้เกษตรกร (%yoy)
0.7
-10.1
-14.9
-7.3
19.0
-8.9
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-27.7
-35.8
-34.1
-42.7
-37.4
-36.4
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
2.1
2.7
-14.5
-5.1
-18.5
-13.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
31.4
7.7
6.2
1.4
1.1
8.6
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
10.1
-2.5
-39.5
-70.9
-42.1
-48.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-5.9
-3.8
-2.1
6.0
-
-0.2
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
95.4
89.5
94.2
96.5
93.6
94.6
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
46.4
19.4
8.9
6.7
6.4
7.9
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
15.3
11.6
5.3
13.8
12.4
8.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
160.7
35.7
14.5
-4.2
-2.9
7.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
112.7
46.5
27.9
10.6
8.5
20.3
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
16.1
12.3
-1.8
17.5
8.4
4.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
187.6
60.8
38.3
8.5
8.6
25.9
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.6
-0.1
-0.3
0.5
1.8
0.3
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.0
0.8
1.1
-
-
1.1
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.5
0.4
0.5
0.5
0.6
0.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
7
ตารางที่ 4 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
4.8
10.8
8.6
9.5
17.8
10.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-8.1
-11.1
-22.1
-11.8
-26.9
-21.4
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-4.3
-7.0
-12.6
-0.4
-7.3
-9.5
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
59.5
63.6
65.6
64.4
63.0
64.8
รายได้เกษตรกร (%yoy)
8.4
8.3
3.6
1.7
-4.2
2.7
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-34.3
-26.4
-35.6
-21.0
-36.4
-33.4
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-10.5
-8.3
-24.7
-4.6
-27.2
-22.0
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
12.6
4.4
3.8
1.8
6.3
11.9
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-38.2
94.8
-31.2
1,042.2
1,692.6
98.3
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-5.7
-7.4
-2.8
4.3
-
-1.3
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
94.0
85.4
79.3
76.1
73.7
77.5
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
27.8
21.0
16.5
19.1
22.3
18.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
23.4
18.5
16.0
19.5
21.7
17.8
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
193.7
79.4
26.1
13.8
31.0
24.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
48.3
37.5
20.3
22.6
22.4
21.2
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
41.4
33.8
19.6
23.6
21.6
20.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
215.0
94.9
29.2
13.5
31.2
25.6
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.3
-0.5
-0.4
0.6
1.9
0.3
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
0.7
0.5
1.0
-
-
1.0
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.9
0.9
0.8
0.8
1.0
0.8
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
8
ตารางที่ 5 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคใต้
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
10.5
6.9
13.5
5.9
1.7
9.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
7.5
2.6
-24.6
-19.8
-30.6
-25.0
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
10.2
6.2
-2.7
14.1
-1.8
0.2
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
53.1
57.9
60.3
59.3
57.7
59.6
รายได้เกษตรกร (%yoy)
-19.5
-4.2
9.8
36.5
26.9
16.9
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-26.2
-24.4
-41.6
-23.8
-42.7
-39.4
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-14.8
-18.4
-29.7
-20.3
-28.5
-27.9
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
6.0
3.0
1.5
0.1
0.7
2.3
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
-12.4
301.8
9.1
-47.6
61.8
14.8
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-6.3
-13.5
-7.8
3.5
-
-5.6
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
89.2
92.5
92.5
90.1
87.0
90.9
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
90.1
64.0
42.2
30.2
30.5
37.1
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
48.1
39.1
27.4
30.8
25.9
27.8
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
210.0
112.4
62.8
29.4
37.0
50.1
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
109.9
72.7
46.4
22.3
20.2
35.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
50.0
54.2
22.7
18.3
14.5
19.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
135.4
78.2
52.6
23.5
21.9
40.1
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.0
-0.6
-1.0
-0.2
1.5
-0.3
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.4
1.2
1.2
-
-
1.2
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.6
0.6
0.6
0.7
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
9
ตารางที่ 6 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคกลาง
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
-2.7
13.7
8.4
6.7
5.6
7.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-10.0
-17.8
-33.1
-10.9
-24.9
-28.5
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
10.0
1.7
-7.5
5.3
-8.5
-5.8
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
54.9
59.2
61.5
60.9
59.4
61.0
รายได้เกษตรกร (%yoy)
4.2
-1.6
-8.0
-4.4
-2.9
-6.8
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-29.4
-21.1
-31.8
-15.8
-36.6
-30.3
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-3.9
9.7
-15.4
-21.5
-34.6
-20.8
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
87.3
79.8
3.8
0.3
0.3
4.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
784.2
2,364.0
126.4
-34.6
137.7
91.7
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-3.4
-1.3
-0.7
7.0
-
1.0
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
95.4
89.5
94.2
96.5
93.6
94.6
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
19.9
20.1
16.1
12.9
11.7
14.6
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
14.0
18.6
12.8
12.5
11.3
12.4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
324.9
53.5
60.2
18.1
17.9
42.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
45.5
46.2
28.5
24.4
15.6
24.9
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
36.4
43.3
22.4
21.9
14.2
20.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
357.9
91.3
91.9
50.6
31.9
71.2
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.1
-0.3
-0.6
0.6
2.1
0.2
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.7
1.1
1.2
-
-
1.2
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.6
0.6
0.5
0.6
0.6
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
10
ตารางที่ 7 เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคเหนือ
เครื่องชี้เศรษฐกิจ 2566 Q4/66 Q1/67 เม.ย.67 พ.ค.67 YTD
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ (%yoy)
7.3
5.6
5.9
5.1
-0.6
4.4
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
11.0
7.2
-18.3
-14.1
-24.7
-18.9
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (%yoy)
0.4
-6.9
-12.9
3.3
-4.4
-8.5
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ม.หอการค้า) (ระดับ)
57.6
61.6
63.6
62.6
61.2
62.9
รายได้เกษตรกร (%yoy)
11.6
10.5
0.7
-1.6
-9.2
-0.4
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-20.2
-18.7
-27.5
-20.4
-30.3
-27.0
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่ (%yoy)
-1.4
0.2
-23.0
-22.4
-10.9
-20.3
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (พันล้านบาท)
7.5
1.7
0.8
0.8
1.3
2.9
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ (%yoy)
55.1
68.0
-2.9
-55.0
-7.0
-26.8
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (%yoy)
-8.3
-8.8
-1.9
6.8
-
0.0
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (ระดับ)
93.5
96.2
94.3
90.2
86.5
91.9
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด (%yoy)
17.8
7.0
4.1
6.9
5.1
4.9
จานวนผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
9.9
4.6
1.1
5.3
4.5
2.5
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
159.6
26.8
28.1
21.0
9.9
23.6
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (%yoy)
40.9
23.8
14.8
14.9
9.1
13.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนคนไทย (%yoy)
21.7
17.0
6.8
8.6
6.0
7.0
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ (%yoy)
211.7
51.5
44.7
39.1
20.0
39.0
เครื่องชี้ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (%yoy)
1.2
-0.7
-0.8
0.5
1.7
0.0
อัตราการว่างงาน (คานวณจากข้อมูล 3 เดือนล่าสุด) (%ต่อกาลังแรงงาน)
1.0
1.1
0.9
-
-
0.9
ผู้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานรายใหม่ (%ต่อจานวนผู้ประกันตน ม. 33)
0.7
0.8
0.6
0.7
0.7
0.7
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า สานักงานสถิติแห่งชาติ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และสานักงานประกันสังคม คานวณและรวบรวม: สศค.
11
ตารางที่ 8 เครื่องชี้เศรษฐกิจรายภาคในเดือนพฤษภาคม 2567 ปรับผลทางฤดูกาล (MoM_SA) เครื่องชี้เศรษฐกิจ ตะวัน ตก ตะวัน ออก กทม. ปริฯ ตะวัน ออกเฉียงเหนือ ใต้ กลาง เหนือ
เครื่องชี้ด้านการบริโภคภาคเอกชน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่_SA (%mom)
-6.3
8.0
3.5
0.6
-5.0
-5.7
-5.6
จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
-4.2
6.4
-0.3
-9.8
-4.6
-0.3
-9.2
จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
3.4
-3.2
-4.3
4.5
-6.3
-3.3
1.1
รายได้เกษตรกร_SA (%mom)
1.4
50.7
11.0
-5.3
-2.6
-0.5
-3.2
เครื่องชี้ด้านการลงทุนภาคเอกชน
จานวนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
-8.7
9.0
7.4
-8.9
-2.5
-10.0
-1.6
จานวนรถบรรทุกจดทะเบียนใหม่_SA (%mom)
15.6
9.1
0.7
-11.1
4.7
-5.4
23.4
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (พันล้านบาท)
1.1
4.7
0.8
7.4
0.7
0.8
0.7
เงินทุนของโรงงานที่เริ่มประกอบกิจการ_SA (%mom)
480.0
95.4
-44.9
342.4
259.1
51.8
-40.6
เครื่องชี้ภาคอุตสาหกรรม
ดัชนีผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม_SA (%mom)
-
-
-
-
-
-
-
เครื่องชี้ภาคการบริการ
จานวนผู้เยี่ยมเยือนทั้งหมด_SA (%mom)
3.9
-2.9
-1.3
-0.9
7.1
-0.5
3.8
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน_SA (%mom)
1.5
0.8
-2.3
-1.6
2.2
-3.0
2.5
ที่มา: กรมสรรพากร กรมการขนส่งทางบก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักดัชนีการค้า และสานักงานสถิติแห่งชาติ คานวณและรวบรวม: สศค.
*_SA หมายถึง ข้อมูลที่ปรับผลทางฤดูกาลแล้ว
ที่มา: กระทรวงการคลัง