รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 12 ก.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday July 16, 2024 14:00 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน มิ.ย. 67 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 58.9 เนื่องจาก

ความกังวลของผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นตัวช้า และปัญหาราคาพลังงานที่ปรับตัว

สูงขึ้น รวมถึงความกังวลต่อประเด็นด้านเสถียรภาพทางการเมืองไทยที่เกิดความไม่แน่นอน

มากขึ้น และประเด็นความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง

? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 67 คิดเป็น 2.01 เท่าของ

สินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคาร

พาณิชย์ทั้งระบบในเดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ 5.57 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน มิ.ย. 67ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 58.9จากระดับ 60.5ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังคงได้รับปัจจัยฉุดรั้งจากความกังวลของผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นตัวช้า และปัญหาราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงความกังวลต่อประเด็นด้านเสถียรภาพทางการเมืองไทยที่เกิดความไม่แน่นอนมากขึ้น และประเด็นความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนไทยในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ราคาพืชผลทางการเกษตรหลายรายการที่ปรับตัวดีขึ้น การดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการภาษีเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยวเมืองรอง 55 จังหวัด และสนับสนุนการมีที่อยู่อาศัยของประชาชนผ่านมาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์ ยังเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อความเชื่อมั่นผู้บริโภคในระยะต่อไป

เครื่องชี้ภาคการเงิน

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนพ.ค. 67คิดเป็น 2.01 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ดารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ 5.5.57 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราการว่างงานในเดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.1 สูงสุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 64 เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.0และสูงกว่าที่ตลาดคาดเล็กน้อยที่ร้อยละ 4.0

อัตราเงินเฟ้อรายปีเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวลดลงเป็นร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.3 ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ร้อยละ 3.1 ในขณะที่ Core inflation rate รายปีเดือน มิ.ย. 67อยู่ที่ร้อยละ 3.3ซึ่งเป็นระดับเป็นการเพิ่มขึ้นที่น้อยที่สุดของดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 64

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (30 มิ.ย. 6 ก.ค. 67) อยู่ที่ 2.22 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.36 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.33แสนราย

สหรัฐอเมริกา

มูลค่าการส่งออก เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือน มิ.ย. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 7.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มิ.ย. 67 หดตัวร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาหดตัวจากที่ขยายตัวในเดือน พ.ต. 67ที่ร้อยละ 1.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 67 เกินดุลที่ระดับ 99.05 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ค. 67ที่เกินดุลที่ระดับ 82.62พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3อย่างไรก็ดี อัตราเงินเฟ้อขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 5สะท้อนถึงการฟื้นตัวเล็กน้อยของอุปสงค์ภายในประเทศ

จัน

ญี่ปุ่น

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน พ.ค.67 เกินดุล 2,849.9 พันล้านเยน ซึ่งเป็นการเกินดุลเป็นเดือนที่ 16 ติดต่อกัน โดยดุลการค้าขาดดุล -661.5 พันล้านเยน ดุลบริการขาดดุล -180.3 พันล้านเยน รายได้ปฐมภูมิเกินดุล 4,211.1 พันล้านเยน รายได้ทุติยภูมิขาดดุล -254.5พันล้านเยน ดุลสินค้าขาดดุล 1,108.9พันล้านเยน

คาสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน มิ.ย.67 ขยายตัวร้อยละ 9.7 ต่อปี ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง จากคาสั่งซื้อต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น

คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลักของญี่ปุ่น (Machinery Orders) ซึ่งไม่รวมคาสั่งซื้อสาหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า เดือน พ.ค.67 ขยายตัวร้อยละ 10.8 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -3.2ต่อเดือน) สาเหตุจากการใช้จ่ายด้านทุนที่เพิ่มขึ้นในภาคการผลิต และลดลงในภาคที่ไม่ใช่การผลิต

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.42 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.24อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 67อันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหาร และหมวดสุขภาพ เป็นสาคัญ

การส่งออก เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 23.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.5 ตัวเลขดังกล่าวสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.45 นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8การส่งออกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวอย่างของยอดส่งออกสินค้าหมวดสารสนเทศ การสื่อสาร และโสตทัศนูปกรณ์ เป็นสาคัญ

การนาเข้า เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 33.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 15.0 การนาเข้าในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าในหมวดสารสนเทศ การสื่อสาร โสตทัศนูปกรณ์ หมวดโลหะพื้นฐาน และหมวดชิ้นส่วนสาหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสาคัญ

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 67 เกินดุลอยู่ที่ 4.68 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 6.05พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ไต้หวัน

ธนาคารกลางมาเลเซียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 3.0 ในการประชุมของธนาคารกลางในเดือน มิ.ย. เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยนโยบายในระดับดังกล่าวยังอยู่ในระดับที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมทั้งสอดคล้องกับประมาณการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อในอนาคต

อัตราการว่างงานเดือน พ.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 63ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.1ตัวเลขดังกล่าวต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.5นับเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

ยอดค้าปลีกเดือน พ.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นการขยายตัวของยอดค้าปลีกในอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 66 ยอดค้าปลีกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในหมวดสินค้าทั่วไปในร้านค้าที่ไม่ใช่ร้านค้าเฉพาะทาง และหมวดเครื่องใช้ภายในบ้านในร้านค้าเฉพาะทาง เป็นสาคัญ

อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน มิ.ย.67อยู่ที่ร้อยละ 2.8เท่ากันต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่

BOK

ตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยพื้นฐานไว้ที่ร้อยละ 3.5 ในการประชุมเดือน ก.ค. 67 เป็นการคงต้นทุนการกู้ยืมต่อเนื่องเป็นเดือนที่เก้า เนื่องจากคณะกรรมการต้องการเวลามากขึ้นในการประเมินการชะลอตัวของอัตราเงินเฟ้อ และให้ความสนใจกับผลกระทบของความผันผวนในตลาดฟอเร็กซ์

สหราชอาณาจักร

ดุลการค้า เดือน พ.ค. 67 ขาดดุลที่ 4.89 พันล้านปอนด์ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุล 6.42พันล้านปอนด์ เนื่องจากการนาเข้าที่ลดลง

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวจากที่หดตัวร้อยละ 0.7ในเดือนก่อนหน้า แต่ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 0.6

ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -3.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หตัวที่ร้อยละ -3.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 16

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อนลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSETWSE(ไต้หวัน) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1111ก.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,1,32929.7777จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 88-1111ก.ค. 67 อยู่ที่3636,037037.24 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 8 -11ก.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -3,164.13 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือน ถึง 6 เดือน ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 -20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -2 ถึง -13 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.13เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่8 -11 ก.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 4,685.28ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 11ก.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-71,139.97ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่1111ก.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.2525บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.011.01จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน วอน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.81

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ