ฉบับที่ 71/2567 วันที่ 26 กรกฎาคม 2567
ผลประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567
?กระทรวงการคลังปรับเพิ่มประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี เร่งขึ้น
จากปี 2566 ที่ขยายตัวได้ร้อยละ 1.9 ต่อปี โดยได้รับแรงสนับสนุนจากภาคบริการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นสาคัญ?
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง แถลงผล การประมาณการเศรษฐกิจไทยว่า ?เศรษฐกิจไทยในปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 (ช่วงคาดการณ์ ที่ร้อยละ 2.2 ถึง 3.2) ขยายตัวจากปี 2566 ที่ขยายร้อยละ 1.9? โดยได้รับแรงสนับสนุนจากภาคบริการ และการท่องเที่ยวที่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นสาคัญ โดยพบว่าในช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2567 เศรษฐกิจไทยมีสัญญาณดีขึ้นสะท้อนได้จากภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงขยายตัวต่อเนื่อง 2 ไตรมาสและนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เดินทางเข้ามาเพิ่มขึ้น ร้อยละ 26.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปีก่อน โดยคาดว่าภาคการท่องเที่ยวในปี 2567 จะมีนักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศเดินทางเข้ามาในประเทศไทยจานวน 36.0 ล้านคน ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของนักท่องเที่ยวต่างประเทศปรับตัวดีขึ้นเป็น 47,000 บาทต่อคนต่อทริป ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากมาตรการยกเว้นการตรวจลงตรา (วีซ่าฟรี) เพิ่มเป็น 93 ประเทศ/ดินแดน ระยะเวลาพานักไม่เกิน 60 วัน ส่งผลดีต่อภาคการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้อง ขณะที่ การบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวได้ต่อเนื่องที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.0 ถึง 5.0) การลงทุนภาคเอกชนคาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 3.1 ถึง 4.1) สาหรับการส่งออกสินค้า จะขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.2 ถึง 3.2) ขยายตัวได้ในไตรมาสที่ 2 แล้ว และมูลค่า การนาเข้าสินค้าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.6 ถึง 3.6) โดยเฉพาะสินค้าทุนที่คาดว่า จะขยายตัวเพิ่มขึ้นตามการลงทุนภาคเอกชนที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต
ทั้งนี้ ผลประมาณการการขยายตัวทางเศรษฐกิจครั้งนี้ได้ปรับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลประมาณการเศรษฐกิจไทย ณ เมษายน 2567 ที่ร้อยละ 2.4 เนื่องจาก 1) การส่งออกสินค้ามีสัญญาณขยายตัวได้ดีกว่าที่คาดการณ์ รวมถึงอุปสงค์ ของประเทศคู่ค้าสาคัญคาดว่าจะขยายตัวได้ดีขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะขยายตัวได้ที่ร้อยละ 3.2 2) จานวนและรายได้ที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศสูงกว่าที่คาดการณ์ สะท้อนผลตอบรับที่ดีจากมาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวของภาครัฐ และ 3) การเบิกจ่ายภาครัฐที่ดีกว่าที่คาดการณ์จากการเตรียมความพร้อมเร่งเบิกจ่ายของภาครัฐ และมีทิศทางเร่งขึ้นต่อเนื่องในช่วงท้ายของปีงบประมาณ 2567
ในด้านเสถียรภาพภายในประเทศอยู่ในระดับมั่นคง โดยคาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะอยู่ที่ร้อยละ 0.6 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.1 ถึง 1.1) ตามการปรับตัวลดลงของราคาสินค้าอาหารบางกลุ่ม อีกทั้งราคาสินค้า ในหมวดพลังงานที่ลดลงจากมาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพของภาครัฐ ขณะที่เสถียรภาพภายนอกประเทศ ดุลบริการ มีแนวโน้มจะเกินดุลตามการเพิ่มขึ้นของจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ส่งผลให้ดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2567 มีแนวโน้ม ที่จะเกินดุล 11.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.4 ของ GDP
- 2 -
ผลประมาณการนี้ไม่ได้นับรวมผลที่คาดว่าจะได้รับในระบบเศรษฐกิจที่เกิดจากโครงการเติมเงิน 10,000 บาท ผ่าน Digital Wallet (โครงการฯ) ต่อเศรษฐกิจไทย ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้ประเมินเบื้องต้น ณ วันที่ 10 เมษายน 2567 ว่าหากพิจารณาเฉพาะโครงการฯ จะส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจประมาณร้อยละ 1.2 ? 1.8 ตลอดทั้งโครงการฯ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแหล่งที่มาของเงิน เงื่อนไขโครงการฯ จานวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ และพฤติกรรมการใช้จ่ายของผู้รับสิทธิเป็นสาคัญ
อย่างไรก็ตาม ยังควรติดตามปัจจัยที่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยอย่างใกล้ชิด อาทิ 1) ความขัดแย้งทาง ภูมิรัฐศาสตร์โลกในภูมิภาคต่าง ๆ ที่เริ่มรุนแรงมากขึ้น อาจเป็นข้อจากัดและส่งผลกระทบต่อการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในระยะถัดไป เช่น สถานการณ์ความตึงเครียดระหว่างอิสราเอลและอิหร่านที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาพลังงานให้ปรับตัวสูงขึ้น การแข่งขันเชิงยุทธศาสตร์ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา และความกังวลเรื่องข้อพิพาททะเลจีนใต้เกี่ยวกับ การอ้างกรรมสิทธิ์หลังมีการซ้อมรบของกองทัพเรือจีนและรัสเซียในบริเวณดังกล่าว 2) ความผันผวนของตลาดการเงินโลกจากการดาเนินนโยบายการเงินที่เข้มงวดของประเทศคู่ค้าหลักและปัญหาสถาบันการเงินในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป 3) ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาและทิศทางการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ 4) การฟื้นตัวของภาวะเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญของไทย โดยเฉพาะประเทศจีนจากปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์ และ 5) ปัญหาหนี้ครัวเรือนและภาคธุรกิจที่จะบั่นทอนการใช้จ่ายในระยะต่อไป
โฆษกกระทรวงการคลังได้กล่าวทิ้งท้ายว่า ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สาคัญในช่วงที่เหลือของปี 2567 ได้แก่ 1) การใช้จ่ายภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งรายจ่ายลงทุนที่ต้องเร่งรัดการเบิกจ่ายในทุกหน่วยงาน 2) จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายได้ให้ประเทศ โดยเฉพาะในช่วง High Season และ 3) การเร่งรัดการลงทุนของโครงการลงทุนที่ได้รับการอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนไปแล้ว ซึ่งสอดรับกับวิสัยทัศน์ 8 ด้านภายใต้กรอบนโยบาย Ignite Thailand ของรัฐบาล โดยการส่งเสริมประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางในหลาย ๆ ด้าน ด้วยการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ โดยเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2567 กระทรวงการคลังได้จัดโครงการศูนย์กลางการเงิน (Financial Hub) ภายใต้หัวข้อ Ignite Finance: Thailand?s Vision for a Global Financial Hub เพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการเงินโลก ซึ่งจะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่อไป การสนับสนุนประเด็นที่สาคัญเหล่านี้จะส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างยั่งยืนและมั่นคง ก้าวสู่การเป็นผู้นาในเวทีระดับภูมิภาคในอนาคต
กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0-2273-9020 ต่อ 3271 - 3 - ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567 (ณ เดือน กรกฎาคม 2567) 2566 2567f เฉลี่ย ช่วง ผลการประมาณการ 1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ) 1.9 2.7 2.2 ถึง 3.2 2) อัตราการขยายตัวของการบริโภค - การบริโภคภาคเอกชน ณ ราคาคงที่ (ร้อยละ) 7.1 4.5 4.0 ถึง 5.0 - การบริโภคภาครัฐ ณ ราคาคงที่ (ร้อยละ) -4.6 1.2 0.7 ถึง 1.7 3) อัตราการขยายตัวของการลงทุน - การลงทุนภาคเอกชน ณ ราคาคงที่ (ร้อยละ) 3.2 3.6 3.1 ถึง 4.1 - การลงทุนภาครัฐ ณ ราคาคงที่ (ร้อยละ) -4.6 1.0 0.5 ถึง 1.5 4) อัตราการขยายตัวของปริมาณส่งออกสินค้าและบริการ (ร้อยละ) 2.1 5.1 4.6 ถึง 5.6 5) อัตราการขยายตัวของปริมาณนาเข้าสินค้าและบริการ (ร้อยละ) -2.3 4.5 4.0 ถึง 5.0 6) ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 17.0 16.2 14.9 ถึง 17.5 - มูลค่าสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละ) -1.7 2.7 2.2 ถึง 3.2 - มูลค่าสินค้านาเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละ) -3.1 3.1 2.6 ถึง 3.6 7) ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) 7.0 11.0 8.4 ถึง 13.6 - ร้อยละของ GDP 1.4 2.4 1.9 ถึง 2.9 8) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละ) 1.2 0.6 0.1 ถึง 1.1 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (ร้อยละ) 1.3 0.5 0.0 ถึง 1.0 สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) อัตราการขยายตัวเฉลี่ย 15 ประเทศคู่ค้าหลัก (ร้อยละ) 3.1 3.2 2.7 ถึง 3.7 2) ราคาน้ามันดิบดูไบ (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล) 81.9 86.0 81.0 ถึง 91.0 สมมติฐานด้านนโยบาย 3) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ) 34.8 36.2 35.7 ถึง 36.7 4) รายจ่ายภาคสาธารณะ (ล้านล้านบาท) 3.99 4.07 4.0 ถึง 4.2 5) จานวนนักท่องเที่ยว (ล้านคน) 28.2 36.0 35.5 ถึง 36.5 ประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2567 ณ กรกฎาคม 2567 กองนโยบายเศรษฐกิจมหภาค สานักงานเศรษฐกิจการคลัง 1 01 02 03 04 05 อัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจ 15 ประเทศคู่ค้าหลัก อัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทเปรียบเทียบ กับคู่ค้าสาคัญ ราคาน้ามันดิบดูไบ จานวนนักท่องเที่ยว ต่างประเทศ รายจ่ายภาคสาธารณะ ข้อสมมติฐานหลักการประมาณการเศรษฐกิจไทย 2 สมมติฐานที่ 1 คาดการณ์เศรษฐกิจ 15 ประเทศคู่ค้าหลัก 3 แนวโน้มเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า 2566 2567 2567(คาดการณ์) ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 สศค.คาดการณ์เม.ย. 67 สศค.คาดการณ์ก.ค. 67 WBคาดการณ์มิ.ย. 67 IMFคาดการณ์ก.ค. 67 ADBคาดการณ์ก.ค. 67 OECDคาดการณ์พ.ค. 67 15 ประเทศ (79.4%) 3.2 3.2 N.A 3.1 3.2 N.A. N.A. N.A. N.A. 1.สหรัฐฯ (17.2%) 2.5 2.9 3.1 2.3 2.4 2.5 2.6 2.0 2.6 2.จีน (12.0%) 5.2 5.3 4.7 4.7 5.0 5.2 5.0 4.8 4.9 3.ญี่ปุ่น (8.7%) 1.8 -0.7 N.A 0.9 0.7 0.7 0.7 0.6 0.5 4.ยูโรโซน (6.6%) 0.6 0.4 N.A. 0.7 0.8 0.7 0.9 0.7 0.7 5.ออสเตรเลีย (4.3%) 2.0 1.1 N.A 1.5 1.5 N.A. 1.4 N.A. 1.5 6.มาเลเซีย (4.2%) 3.7 4.2 5.8 4.5 4.4 4.3 4.4 4.5 N.A. 7.เวียดนาม (3.9%) 5.0 5.9 6.9 5.8 6.0 5.5 N.A. 6.0 N.A. 8.ฮ่องกง (3.9%) 3.3 2.7 N.A 2.7 2.7 N.A. N.A. 2.8 N.A. 9.สิงคโปร์ (3.6%) 1.1 2.7 2.9 2.4 2.3 N.A. N.A. 2.4 N.A. 10.อินเดีย (3.6%) 7.7 7.8 N.A. 6.8 7.0 6.6 7.0 7.0 6.6 11.อินโดนีเซีย (3.5%) 5.0 5.1 N.A 5.0 5.1 5.0 5.0 5.0 5.1 12.ฟิลิปปินส์ (2.8%) 5.5 5.7 N.A. 6.1 6.0 5.8 6.0 6.0 N.A. 13.เกาหลีใต้ (2.1%) 1.4 3.3 N.A 2.2 2.5 N.A. 2.5 2.5 2.6 14.ไต้หวัน (1.7%) 1.3 6.6 N.A. 3.2 3.3 N.A. N.A. 3.5 N.A. 15.สหราชอาณาจักร (1.4%) 0.1 0.3 N.A. 0.8 0.8 N.A. 0.7 N.A. 0.4 หมายเหตุ: 1. WB ปรับคาดการณ์เศรษฐกิจโลกในรายงาน GEP มิ.ย. 67 ให้ทั้งปี 67 อยู่ที่ 2.6 ต่อปีเพิ่มขึ้นจากการคาดการณ์ครั้งก่อนที่อยู่ที่ 2.4 ต่อปี 2. IMF ปรับคาดการณ์เศรษฐกิจโลกในรายงาน WEO ก.ค. 67 ให้ทั้งปี 67 อยู่ที่ 3.2 ต่อปี คงจากคาดการณ์ครั้งก่อน 3. ADB คาดการณ์เศรษฐกิจเอเชียกาลังพัฒนาก.ค. 67 ให้ทั้งปี 67 อยู่ที่ 5.0 ต่อปีเพิ่มขึ้นจากคาดการณ์ครั้งก่อนที่อยู่ที่ 4.9 ต่อปี 4. OECD คาดการณ์เศรษฐกิจโลกในรายงาน OECD Economic Outlook พ.ค. 67 ให้ทั้งปี 67 อยู่ที่ 3.1 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากการคาดการณ์ครั้งก่อนที่อยู่ที่ 2.9 ต่อปี สมมติฐานที่ 2 คาดการณ์ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และดัชนีค่าเงินบาท 4 * คานวณโดย สศค. ค่าเฉลี่ยของ ต้นปี ? 25 ก.ค. (YTD) THB/USD = 36.18 (อ่อนค่าลงจากปี 66 ที่ -3.9%) NEER = 109.35 (อ่อนค่าลงจากปี 66 ที่ -1.7%) คาดการณ์ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ปี 2567 เฉล่ยี ในกรอบ 36.00 ? 36.34 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ หรือเฉล่ยี ที่ 36.2 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยอ่อนค่าลงจากปีก่อนหน้า ที่ -3.9% คาดการณ์ดัชนีค่าเงินบาท Nominal Effective Exchange Rate (15 ประเทศคู่ค้า)* ปี 2567 เฉล่ยี ที่ 109.5 จุด โดยอ่อนค่าลงจากปีก่อนหน้า ที่ -1.6% 36.0 35.3 33.9 32.3 31.0 31.3 32.0 35.1 34.8 36.2 28.00 29.00 30.00 31.00 32.00 33.00 34.00 35.00 36.00 37.00 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567F Average THB/USD 108.2 100.7 105.5 109.8 116.7 115.7 110.6 107.9 111.2 109.5 90.00 95.00 100.00 105.00 110.00 115.00 120.00 125.00 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567F Average NEER คาดการณ์ ณ ก.ค. 67 คาดการณ์ ณ เม.ย. 67 คาดการณ์ ณ เม.ย. 67 คาดการณ์ ณ ก.ค. 67 หมายเหตุ: + (-) ค่าเงินบาท แข็งค่าขึ้น (อ่อนค่าลง) เมื่อเทียบกับสกุลเงินต่าง ๆ 5 ? ภายใต้การเติบโตทางเศรษฐกิจไทยที่ยังคงมีเสถียรภาพ ในปี 2567 อาจจะยังมีความท้าทายในภาพรวมของเศรษฐกิจโลกในระยะสั้นที่ต้องติดตาม รวมถึงความไม่แน่นอนของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ ? ที่ผ่านมาค่าเงินบาทและสกุลเงินในภูมิภาคมีความผันผวนและมีทิศทางอ่อนค่าลงต่อเนื่อง ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2567 โดยค่าเงินบาทอ่อนค่าลงมากกว่า 15 สกุลเงินอื่น ๆ เนื่องจากกระแสเงินทุนไหลออกทั้งในตลาดตราสารทุนและตลาดตราสารหนี้ ส่งผลให้ ค่าเงินบาท ในภาพรวมปี 2567 มีแนวโน้มอ่อนค่าลงมากกว่าสกุลเงินอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ยูโร หยวน ดอลลาร์ฮ่องกง ดอลลาร์ออสเตรเลีย ดอลลาร์สิงคโปร์ ปอนด์สเตอร์ลิง รูปีอินเดีย และริงกิตมาเลเซีย ? ในขณะที่ ค่าเงินบาทมีทิศทางการอ่อนค่าลงใกล้เคียงกับหลายสกุลเงิน เช่น เปโซฟิลิปปินส์ ด่องเวียดนาม ดอลลาร์ไต้หวัน และวอนเกาหลี และมีแนวโน้ม แข็งตามขึ้นมากกว่ารูเปียห์อินโดนีเซียและเงินเยน ? อย่างไรก็ดี คาดว่าค่าเงินบาทมีโอกาสจะแข็งค่าขึ้นในไตรมาที่ 4 จากปัจจัยสนับสนุน ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของไทย รวมถึงการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2568 ที่เป็นไปตามแผนการเบิกจ่ายงบประมาณ ประกอบกับตลาดโลกที่เริ่มฟื้นตัว และไทยยังได้รับแรงสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวที่คาดว่าจะเพิ่มสูงขึ้นมากในช่วง ปลายปี 2567F: THB/USD = 36.00 ? 36.34 และ NEER = 109.48 จุด 0.6 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 -0.1 -0.1 -0.1 -0.2 -0.2 -0.2 -0.3 -0.4 -0.4 -1.6 -2 -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 2 เยน รูเปียห์อินโดนีเซีย วอนเกาหลี ดอลลาร์ไต้หวัน ด่องเวียดนาม เปโซฟิลิปปินส์ ริงกิตมาเลเซีย รูปีอินเดีย ปอนด์สเตอร์ลิง ดอลลาร์สิงคโปร์ ดอลลาร์ออสเตรเลีย ดอลลาร์ฮ่องกง หยวน ยูโร ดอลลาร์สหรัฐ NEER Contribution to 2024F NEER สมมติฐานที่ 2 คาดการณ์ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ และดัชนีค่าเงินบาท 5 ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ 6 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 Oct-23 Nov-23 Dec-23 Jan-24 Feb-24 Mar-24 Apr-24 May-24 Jun-24 Jul-24 5) OPEC+ (37th) Extends Production Cuts: 1.65 MBD Until 2025, 2.2 MBD Phased Out by September 2025 (2 June 24) Source: Bloomberg YTD (1 ม.ค.- 25 ก.ค. 67) = 83.5 $/bbl. 79.5 (25-July -24) The 38th OPEC and non-OPEC Ministerial Meeting on 1 December 2024. 1) Israel and Palestine conflict (7 Oct 23) OPEC+ (36th) announced voluntary cut of 2.2 MBD till Q1?24 (30 Nov 23) 2) US launched followup attack against Houthis In Yemen (Jan 24) 3) OPEC+ announce extension of additional voluntary cuts of 2.2 MBD for the second quarter of 2024 (3 Mar 24) ในไตรมาส 2 ของปี 67 ราคาน้ามันดิบดูไบเคลื่อนไหวอยู่ในช่วง 75 ? 93 $/bbl ภายใต้ความไม่แน่นอนสูง ได้แก่ สถานการณ์ความตึงเครียดในตะวันออกกลางที่แม้ว่าไม่ได้ขยายไปในวงกว้าง แต่ยังไม่มีข้อสรุป และการผ่อนคลายมาตรการลดกาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC+ ที่ขนึ้ อยกู่บสถานการณ์ตลาด $/bbl 4) Iran attack Israel (13 Apr 24) ปัจจัยที่คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อค่าเงินบาท 7 ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ อุปสงค์การบริโภคปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงเหลวทั่วโลกในปี 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ +1.1 ขณะที่อุปทานการผลิตปิโตรเลียมและเชื้อเพลิงเหลวทั่วโลกปี 2567 เพิ่มขึ้นร้อยละ +0.6 โดยพบว่าอุปทานต่ากว่าอุปสงค์ -0.5 ล้านบาร์เรลต่อวัน จากการขยายเวลาลดกาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC+ ที่มา : สานักบริหารสารสนเทศพลังงานของสหรัฐ (EIA) ที่มา : สานักบริหารสารสนเทศพลังงานของสหรัฐ (EIA) สานักบริหารสารสนเทศพลังงานของสหรัฐ (EIA) ประเมินว่า ในช่วงครึ่งหลัง ของปี 2567 ปริมาณน้ามันในคลังน้ามันสารอง ยังคงลดลง โดยเคลื่อนไหวต่ากว่าขอบล่างของระดับค่าเฉลี่ย 5 ปีล่าสุด (2562-2566) ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ 93.9 95.7 100.0 101.8 91.6 97.6 99.9 101.8 85.0 87.0 89.0 91.0 93.0 95.0 97.0 99.0 101.0 103.0 105.0 2563 2564 2565 2566 2567f April 67 2567f July 67 Supply Demand (+0.6%) (+1.1%) (mb/d) 102.6 102.9 102.4 102.9 (+0.8%) (+1.1%) อุปสงค์และอุปทานของน้ามันดิบ 2,000 2,500 3,000 3,500 Million Brl. Actual f as of Jun67 5-year avg. เฉลี่ย 5 ปีล่าสุด กราฟน้ามันคงคลังของสหรัฐและกลุ่มประเทศ OECD ปัจจัยที่ คาดว่าจะ ส่งผล กระทบต่อ ค่าเงิน บาท 8 ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ ? สานักบริหารสารสนเทศพลังงานของสหรัฐ (EIA) ประเมินว่าการบริโภคน้ามันดิบจะเพิ่มขึ้นในไตรมาส 2 ปี 2657 เป็นต้นไป ส่งผลให้ปริมาณน้ามันคงคลังของโลกจะลดลงถึงต้นปี 2568 ซึ่งจะกดดันให้ราคาน้ามันดิบในช่วงที่เหลือของปี 2567 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ? อย่างไรก็ดี EIA คาดการณ์ว่า ปริมาณน้ามันดิบคงคลังจะเริ่มเพิ่มขึ้นและสมดุล โดยเฉลี่ย 0.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในไตรมาส 3 ปี 2568 จากขยายกาลังการผลิตของกลุ่ม Non-OPEC ที่เติบโตขึ้น กราฟ : การผลิตและการบริโภคเชื้อเพลิงเหลวของโลก ปี 2019-2025F ที่มา : สานักบริหารสารสนเทศพลังงานของสหรัฐ (EIA) forecast 80 85 90 95 100 105 110 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 World liquid fuels production and consumption balance million barrels per day world production world consumption // 0 -2 0 2 4 6 Data source: U.S. Energy Information Administration, Short-Term Energy Outlook, July 2024 implied stock build implied stock draw ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ -0.6 -1.0 0.3 0.4 -0.8 -0.6 -0.04 0.08 ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ คาดการณ์ราคาน้ามันดิบในปี 2567 และ 2568 ของหน่วยงานต่าง ๆ (USD/bbl) ข้อสมมติฐานที่ 3 ราคาน้ามันดิบดูไบ 9 Bloomberg EIA NESDC BOT FPO FPO Bloomberg EIA (July 24) (July 24) (May 24) (June 24) (Apr 24) (July 24) (July 24) (July 24) 2566 %yoy 2567 F 83.8 86.3 85.0 84.0 86.0 86.0 79.7 82.0 %yoy 2.1% 5.2% 3.8% 2.6% 5.0% 5.0% 2.8% 5.7% -17.8% -15.7% -17.9% 82.1 81.9 77.6 Year Brent Dubai WTI 53.1 69.2 63.1 42.2 68.9 97.1 81.9 86.0 86.0 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567F ประมาณการ ณ ก.ค. 67 ประมาณการ ณ เม.ย. 67 FPO Dubai Forecast (USD/bbl.) 10 จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (ล้านคน) 0 จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (ล้านคน) จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศและรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 11.1 (2,486.1%) ประเด็นสนับสนุน/ติดตาม 1. เศรษฐกิจจีนที่มีสัญญาณทรงตัว และความเชื่อมั่นในการบริโภคของ ชาวจีน 2. ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ 3. มาตรการยกเว้นวีซ่าให้กับ นักท่องเที่ยว 90 ประเทศ และ 3 เขตปกครองพิเศษ รวมทั้งการขยาย เวลาพานัก 60 วัน ซึ่งคาดว่าจะช่วย เพิ่มการใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของ นักท่องเที่ยว 4. การใช้มาตรการยกเว้นวีซ่าให้กับ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติของรัฐบาล ประเทศอื่น ๆ เพื่อดึงดูด นักท่องเที่ยวทาให้เกิดการแข่งขันที่ สูงขึ้น 5. ค่าเงินในบางประเทศที่อ่อนตัว และ การจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 28.2 (154.4%) รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (ล้านล้านบาท) รายได้จากการท่องเที่ยวของ นักท่องเที่ยวต่างประเทศ (ล้านล้านบาท) 2565 0.36 (868.5%) ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริป ของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ (บาท/คน/ทริป) 2565* 32,627 ปี 2566 (-62.8%) (34.8%) คาดการณ์ครั้งก่อนปี 2567 = 44,600 บาท/คน/ทริป ปี 2566 1.23 (243.0%) ปี 2565 2566 หมายเหตุ : * ข้อมูลรายได้ต่อคนต่อทริปคานวณโดย สศค. จากข้อมูลเบื้องต้นของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา 43,743 2567f 36.0 (27.9%) 2567f 1.69 (37.4%) 2567f (7.4%) 47,000 ข้อสมมติฐานที่ 4 จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 24.8 29.9 32.5 35.6 38.2 39.9 6.7 0.4 11.1 28.2 35.7 36.0 -6.5% 20.6% 8.7% 9.4% 7.3% 4.6% -83.2% -93.6% 2,486.1% 154.4% 27.9% -100.0% 400.0% 900.0% 1400.0% 1900.0% 2400.0% -2.0 8.0 18.0 28.0 38.0 48.0 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567f รายได้จากนักท่องเที่ยวแต่ละปี คาดการณ์ ณ เม.ย. 67 คาดการณ์ ณ ก.ค. 67 %YoY 1.17 1.46 1.63 1.83 1.88 1.91 0.33 0.04 0.36 1.20 1.59 1.69 -2.8% 24.2% 12.1% 12.1% 2.5% 1.9% -82.6% -88.7% 855.5% 243.0% 37.4% -200.0% 0.0% 200.0% 400.0% 600.0% 800.0% 1000.0% -0.50 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567f รายได้จากนักท่องเที่ยวแต่ละปี คาดการณ์ ณ เม.ย. 67 คาดการณ์ ณ ก.ค. 67 %YoY 0.43 0.42 0.48 0.47 0.67 - 0.10 0.20 0.30 0.40 0.50 0.60 0.70 FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายลงทุน FY64 - FY68 2.58 2.52 2.61 2.77 2.83 2.30 2.40 2.50 2.60 2.70 2.80 2.90 FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายประจา FY64 - FY68 สมมติฐานที่ 5 รายจ่ายภาคสาธารณะ 11 0.04 0.06 0.04 0.03 0.10 0.16 0.15 0.13 0.12 0.30 - 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30 0.35 0.40 FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายเหลื่อมปีงบประมาณ FY64 - FY68 รายจ่ายประจา รายจ่ายลงทุน 2.58 2.52 2.61 2.77 2.83 0.43 0.42 0.48 0.47 0.67 - 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2568 รายจ่ายประจา รายจ่ายลงทุน 0.31 0.32 0.25 0.26 0.32 - 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30 0.35 FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ FY64 - FY68 95.0% 74.0% 89.1% 91.0% 86.3% 3.24 3.60 3.01 3.29 2.93 3.10 3.18 3.09 3.50 3.75 กรอบวงเงินงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ (หน่วย: ล้านล้านบาท) อัตราเบิกจ่าย (ร้อยละ) FY64 FY65 FY66 FY67f FY68f รายจ่ายประจาปี 91.7 94.6 97.0 90.0 93.3 รายจ่ายประจา 96.4 99.3 101.6 99.5 99.0 รายจ่ายลงทุน 70.9 73.7 77.7 57.5 75.0 รายจ่ายเหลื่อมปี 95.9 90.3 91.5 94.0 98.5 รายจ่ายลงทุนรัฐวิสาหกิจ 86.3 91.0 89.1 95.0 74.0 (94.4) (92.3) (99.5) (99.0) (64.0) (79.0) (93.0) (95.0) (95.0) (74.0) (หน่วย: ล้านล้านบาท) (หน่วย: ล้านล้านบาท) (หน่วย: ล้านล้านบาท) (หน่วย: ล้านล้านบาท) 0.20 0.20 0.24 0.21 0.19 0.17 0.16 0.15 0.41 0.40 (99.0%) (99.5%) (101.6%) (99.3%) (96.4%) (77.7%) (73.7%) (70.9%) (57.5%) (75.0%) ( ) ประมาณการครั้งก่อนหน้า 11 สมมติฐานที่ 5 รายจ่ายภาคสาธารณะ 12 ปีปฏิทิน 2565 2566 2567f เทียบกับ คาดการณ์ ครั้งก่อน 2568f ณ เม.ย. 2567 ณ ก.ค. 2567 ณ ก.ค. 67 การบริโภคภาครัฐ (Cg) 3,079,832 2,983,053 3,054,640 3,033,160 3,133,220 %yoy 4.3 -3.1 2.4 1.7 3.3 การลงทุนภาครัฐ (Ig) 1,053,747 1,011,028 1,028,870 1,032,660 1,061,820 %yoy -0.5 -4.1 1.8 2.1 2.8 รวมรายจ่ายภาคสาธารณะ 4,133,579 3,994,081 4,083,510 4,065,820 4,195,040 %yoy 3.1 -3.4 2.2 1.8 3.2 จากสมมติฐานรายจ่ายภาคสาธารณะตามระบบงบประมาณข้างต้น สามารถแปลงเป็นรายจ่าย ภาคสาธารณะตามระบบบัญชีประชาชาติที่ลงสรู่ บบเศรษฐกิจจริง ได้ดังต่อไปนี้ สรุปรายจ่ายภาคสาธารณะตามระบบบัญชีประชาชาติ (SNA) รายจ่ายภาคสาธารณะในปี 2567 คาดว่าจะเบิกจ่ายได้เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 4.1 ล้านล้านบาท เพิ่มจากปีก่อนหน้าร้อยละการบริโภคและการลงทุนภาครัฐ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า และมีการปรับเปลี่ยนจากการประมาณการครั้งก่อน เนื่องจากมีการปรับสมมติฐานให้สอดคล้องกับข้อมูลไตรมาสที่1 ที่ออกโดยสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รวมทั้งการโอนเปลี่ยนแปลงกรอบงบประมาณปี 2567 และ 2568 สรุปข้อสมมติฐานเพื่อการประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567 132567f2567f(APR'67)(JUL'67)อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก (ร้อยละ)3.23.13.22.7 ถึง 3.7อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (เฉลี่ย)34.836.0036.2035.7 ถึง 36.7ราคาน้ามันดิบดูไบ (ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล)81.986.086.081.0 ถึง 91.0จานวนนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ (ล้านคน)28.235.736.035.5 ถึง 36.5รายจ่ายภาคสาธารณะ (ล้านล้านบาท)3.994.084.074.0 ถึง 4.12566เทียบกับสมมติฐานครั้งก่อนช่วงคาดการณ์สมมติฐานประมาณการโดย สศค. ประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2567 ณ เดือนกรกฎาคม 2567 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ) % 2565 1.9 2566 2.5 2567f 2.7 2.2 -6.1 1.6 2.5 1.9 2.7 -8 -6 -4 -2 0 2 4 2562 2563 2564 2565 2566 2567f 14 สรุปผลประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2567 15 เศรษฐกิจไทยปี 2567 คาดว่าจะขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี เร่งขึ้นจากปี 2566 ที่ขยายตัวร้อยละ 1.9 ต่อปี ณ เม.ย. 67 ณ ก.ค. 67 เทียบคาด ครั้งก่อน ช่วงคาดการณ์ Real GDP 2.5 1.9 2.4 2.7 2.2 ถึง 3.2 - Real Private Consumption 6.2 7.1 3.5 4.5 4.0 ถึง 5.0 - Real Public Consumption 0.1 -4.6 1.9 1.2 0.7 ถึง 1.7 - Real Private Investment 4.7 3.2 3.7 3.6 3.1 ถึง 4.1 - Real Public Investment -3.9 -4.6 0.6 1.0 0.5 ถึง 1.5 - Real Exports of goods and services 6.1 2.1 4.0 5.1 4.6 ถึง 5.6 - Real Imports of goods and services 3.6 -2.3 2.8 4.5 4.0 ถึง 5.0 Trade Balance (Bil.$) 13.5 17.0 14.4 16.2 14.9 ถึง 17.5 - Export of goods (in USD) 5.4 -1.7 2.3 2.7 2.2 ถึง 3.2 - Import of goods (in USD) 14.0 -3.1 3.4 3.1 2.6 ถึง 3.6 Current Account (Bil.$) -15.7 7.0 9.3 11.0 8.4 ถึง 13.6 - Current Account (%GDP) -3.2 1.4 1.8 2.4 1.9 ถึง 2.9 Headline Inflation 6.1 1.2 0.6 0.6 0.1 ถึง 1.1 Core Inflation 2.5 1.3 0.8 0.5 0.0 ถึง 1.0 2567f Growth (%yoy) 2565 2566 ประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2567 ณ เดือนกรกฎาคม 2567 อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละ) % หมายเหตุ: ข้อมูลอัตราการขยายตัวของมูลค่าที่แท้จริง (Real term) ยกเว้นอัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าส่งออกและนาเข้าสินค้าที่คิดจาก USD term ตามระบบ BOP การบริโภคภาคเอกชน การบริโภค 2566 2567f การบริโภคภาครัฐ ปริมาณส่งออกสินค้าและบริการ 2566 2567f ปริมาณนาเข้าสินค้าและบริการ ดุลการค้า (พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) การค้าระหว่างประเทศ การลงทุน การลงทุนภาคเอกชน 2566 2567f การลงทุนภาครัฐ อัตราเงินเฟ้อ อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 2566 2567f อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน มูลค่าสินค้าส่งออกในรูป USD มูลค่าสินค้านาเข้าในรูป USD ดุลบัญชีเดินสะพัด(พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง 2565 1.9 2566 4.5 7.1 1.2 -4.6 3.6 3.2 1.0 -4.6 0.6 1.2 0.5 1.3 5.1 2.1 16.2 17.0 2.7 -1.7 3.1 -3.1 11.0 7.0 2.5 4.5 -2.3 2567f 2.7 2.2 -6.1 1.6 2.5 1.9 2.7 -10 -5 0 5 2562 2563 2564 2565 2566 2567f ที่มา: กระทรวงการคลัง