รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 26 ก.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday July 31, 2024 14:09 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ ร้อยละ -6.3 ต่อปี

เนื่องจากดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญ และหนวดประมงหดตัว

ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว

? ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.6 ต่อปี เนื่องจาก

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญขยายตัว ขณะที่หมวดปศุสัตว์และหมวดประมง

หดตัว

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน มิ.ย. 67 หดตัวลงร้อยละ -27.1 ต่อปี เนื่องจาก

ความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่

อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้

ผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์ออกไป

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -25.3 ต่อปี

เนื่องจาก เศรษฐกิจที่เติบโตได้ต่า อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัญหาหนี้ครัวเรือน

ส่งผลให้สถาบันการเงินมีความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อ

? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน มิ.ย. 67 ขยายตัว

ร้อยละ 22.3 ต่อปี โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย

อินเดีย เกาหลีใต้ และลาว เป็นสาคัญ โดยจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งเป็นผลจาก

การยกเว้นวีซ่า และจานวนนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียที่ปรับตัวดีขึ้น

? มูลค่าการส่งออกในเดือน มิ.ย. 67 หดตัวที่ร้อยละ -0.3 ต่อปี เนื่องจากกลุ่มสินค้าส่งออกที่

หดตัว อาทิ สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง

เป็นต้น และสินค้าอุตสาหกรรม เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ เป็นต้น

? มูลค่าการนาเข้าในเดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 ต่อปี เนื่องจากการนาเข้าของไทย

ขยายตัวมาจากกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และสินค้าอุปโภคบริโภค

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวลดลงอยู่ที่ร้อยละ -6.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -4.7เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน มิ.ย. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในหมวดพืชผลสาคัญหดตัว ร้อยละ -9.0 ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์ขยายตัว ร้อยละ 0.6 และหมวดประมง หดตัวร้อยละ -15.3 ผลผลิต ปาล์มน้ามัน สุกร ไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือก ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด กลุ่มไม้ผล ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมหดตัวลง

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 12.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 3.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน มิ.ย. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลสาคัญ ขยายตัว ร้อยละ 19.8 หมวดปศุสัตว์ และหมวดประมง หดตัวอยู่ที่ ร้อยละ -8.5 และหดตัวร้อยละ -0.3 ตามลาดับ โดยราคาข้าวเปลือก ยางพารา และกลุ่มไม้ผล ไข่ไก่ ปรับเพิ่มขึ้น ส่วน มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมราคาปรับลดลง ยังคงหดตัวลง

Indicators (%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

May

Jun

YTD

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร

1.5 -2.9 -

1.7 6.9

-

66.3 -22.4

%mom_sa, %qoq_sa

1.4

-1.8 0.8

-

1.3 -

4.7 -2.5

ดัชนีราคาสินค้าเกษตร

-2.0

5.5

10.7

5.4

12.6

8.1

%mom_sa, %qoq_sa

-2.0 8.8

4.0

-

3.0 3.6

8.1

3

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน มิ.ย. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.9 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา และปาล์มน้ามัน เป็นสาคัญ

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน มิ.ย. 67 มีจานวน 17,737 คัน หดตัวลงร้อยละ -27.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -7.4

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้ผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์ออกไป อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาเพิ่มขึ้น และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมการบริโภคของประชาชนและส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป

ที่มา : บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จากัด และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 6767มีจานวน 29,92529,925คัน หดตัวที่ร้อยละ

25.325.3เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 7.57.5ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 39.039.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน มิ.ย. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 1919และลดลงจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 7.57.5เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตได้ต่า อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัญหาหนี้ครัวเรือนส่งผลให้สถาบันการเงินมีความระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

?เดือนมิถุนายน 2567 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติยังขยายตัวได้ โดยได้รับแรงสนับสนุนจากมาตรการยกเว้นวีซ่า ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศขยายตัวในอัตราชะลอลง?

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน มิ.ย. 67 มีจานวน 2.74 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 22.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย อินเดีย เกาหลีใต้ และลาว เป็นสาคัญ โดยจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นส่วนหนึ่งเป็นผลจากการยกเว้นวีซ่า และจานวนนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียที่ปรับตัวดีขึ้น ทั้งนี้ เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ 1.9

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน มิ.ย. 67 มีจานวน 21.1 ล้านคน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 10.2และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า ขยายตัวได้ดีที่ร้อยละ 5.6 โดยจานวนผู้เยี่ยมเยือนในเดือน มิ.ย. 67 ที่ลดลงเนื่องจากมีวันหยุดน้อยกว่าเดือน พ.ค. แต่เมื่อเทียบกับเดือนกันของปีก่อนแล้วยังถือว่าขยายตัวได้ ขณะที่ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน มิ.ย. 67อยู่ที่ 76,192ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และใกล้เคียงกับเดือนก่อนโดยอยู่ที่ร้อยละ 15.0 โดยเป็นการลดลงตามจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงเล็กน้อย เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวที่ร้อยละ 4.0ขณะที่การใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง โดยอยู่ที่ 3,605 บาท/คน/ทริป ขยายตัวร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนการใช้จ่ายของผู้เยี่ยมเยือนที่เพิ่มขึ้น

มูลค่าการส่งออกในเดือน มิ.ย. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 24,796.6,796.6ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัวที่ร้อยละ -0.3 เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 5.6

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองคา และยุทธปัจจัย หดตัวร้อยละ -1.6เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่หดตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง น้าตาลทราย เครื่องดื่ม และไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์ แผนวงจรไฟฟ้า เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ และเครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบและส่วนประกอบ

?

สาหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ ตลาดสหรัฐ สหภาพยุโรป และอาเซียน ในขณะที่ตลาดจีนและญี่ปุ่นยังคงหดตัวต่อเนื่อง

มูลค่าการนาเข้าในเดือน มิ.ย.67 มีมูลค่า 24,578.5,578.5ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -2.0

การนาเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากกลุ่มสินค้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป และสินค้าอุปโภคบริโภค

ด้านดุลการค้าในเดือน มิ.ย. 67 เกินดุลมูลค่า 218.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทาให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -5,242.7

ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDP

USUSไตรมาส 2 ปี 67 (เบื้องต้น) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.8 เมื่อคานวนแบบ annualized rate ซึ่งสูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 2.0

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (14 -20 ก.ค. 67) อยู่ที่ 2.35 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.38 แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.36แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สาหรับลูกหนี้ชั้นดี (Loan Prime

Rate LPR) ประเภท 1 ปี ไว้ที่ระดับร้อยละ 3.35 จากเดิมที่อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.45 และลดอัตราดอกเบี้ย LPR ประเภท 5ปี ไว้ที่ร้อยละ 3.85จากเดิมที่อยู่ที่ระดับ 3.95

ธนาคารกลางจีน (PBOC) ประกาศลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ระยะกลาง (MLF) ระยะ 1 ปี สู่ระดับร้อยละ 2.3 จากเดิมอยู่ที่ระดับร้อยละ 2.5โดยมีจุดประสงค์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ

จัน

ญี่ปุ่น

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.4 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 52.1จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยระดับดัชนีฯ อยู่เหนือระดับ 50จุด ต่อเนื่องกัน 9เดือน สะท้อนถึงภาคบริการที่ยังคงขยายตัว

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 50.9 จุด ในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 51.1จุด โดยได้รับแรงสนับสนุนจากยอดคาสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ -13.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ -14.0จุด สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 2565และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ -13.4จุด

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 45.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าหน้าที่ระดับ 45.8จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 46.1จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคบริการต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16ติดต่อกัน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.8จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 53.0จุด

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 103 จุด สูงสุดนับจาก มิ.ย. 66

ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 73 ต่าสุดนับจาก เม.ย. 67จากการผลิตที่ชะลอตัวลง

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ซึ่งต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 2.2ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้เป็นตัวเลขที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ส.ค. 66

อัตราการว่างงานเดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.35ของกาลังแรงงานรวม

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 13.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 แต่ก็ยังคงเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4โดยตัวเลขผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากการชะลอตัวของภาคการผลิตเป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีกเดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.6 และเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 67 ยอดค้าปลีกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยสนับสนุนจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าที่จาหน่ายในร้านขายทั่วไป (General merchandise store) เป็นสาคัญ

ไต้หวัน

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.9 ต่อปี โดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 33ถึง 67อัตราเงินเฟ้อพอยู่ที่ร้อยละ 1.77

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี (ร้อยละ -0.2 ต่อเดือน) ต่าสุดนับจาก ส.ค. 64เป็นต้นมา

สิงคโปร์

สหราชอาณาจักร

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน ก.ค. 67อยู่ที่ระดับ 52.4 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 52.1จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยระดับดัชนีฯ อยู่เหนือระดับ 50จุด ต่อเนื่องกัน 9เดือน สะท้อนถึงภาคบริการที่ยังคงขยายตัว

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global/CIPS PMI) ภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด เพิ่มขึ้นจากระดับ 50.9 จุด ในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าระดับที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 51.1 จุด โดยได้รับแรงสนับสนุนจากยอดคาสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ที่มา

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flashflashเดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 44.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.4 จุด และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 45.8จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 26

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 42.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 43.5จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 44.0จุด โดยดัชนียังคงอยู่ระดับต่ากว่า 50.0จุด บ่งชี้การหดตัวในภาคอุตสาหกรรม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.1จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 53.1จุด โดยดัชนียังคงอยู่ระดับสูงกว่า 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวในภาคบริการ

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นTWSETWSE(ไต้หวัน) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ Hang SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 25ก.ค. 67 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,1,291.58จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 23-25 ก.ค. 67 อยู่ที่34,716.92 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 23 -25ก.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 274.95 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1-3เดือน ปรับตัวเพิ่มขึ้น1 -2 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2-20ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลง -1 ถึง -3 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.96 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่23 -25 ก.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 12,7452.08ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 25 ก.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-55,482.40 ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่25 ก.ค. 67เงินบาทปิดที่ 36.16 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.56จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.60

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ