การจัดตั้งสถาบันค้ำประกันเครดิตแห่งชาติ

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday August 14, 2024 15:12 —กระทรวงการคลัง

ฉบับที่  78/2567                  วันที่ 14 สิงหาคม 2567 การจัดตั้งสถาบันค้ำประกันเครดิตแหงชาติ  นายพรชัย  ฐีระเวช ผูBอำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปNดเผยวP เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2567 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแนวคิดการจัดตั้งสถาบันค้ำประกันเครดิตแหPงชาติ (National Credit Guarantee Agency: NaCGA) เพื่อยกระดับกลไกการค้ำประกันของภาครัฐที่มีอยูในปpจจุบันใหBมีประสิทธิภาพและสามารถสPงเสริมใหBผูBประกอบวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยPอม (Small and Medium Enterprises: SMEs) และผูBประกอบการรายยPอยเขBถึงแหลPงเงินทุนที่หลากหลายไดBดBวยตBนทุนทางการเงินในระดับที่เหมาะสมและสอดคลองกับความเสี่ยงมากขึ้น

NaCGA จะมีสถานะเป1นนิติบุคคลที่เป1นหน;วยงานของรัฐ แต;ไม;เป1นทั้งส;วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งจะทำใหMการดำเนินการค้ำประกันมีความรวดเร็วและยืดหยุ;น พึ่งพางบประมาณจากภาครัฐนMอยลง อีกทั้งมีขอบเขตและรูปแบบการค้ำประกันที่มีความหลากหลายและมีกลไกการคำนวณค;ธรรมเนียมค้ำประกันที่อิงตามระดับ ความเสี่ยงของลูกหนี้ โดย NaCGA จะมีเปาหมายและพันธกิจหลัก ดังนี้

1) สPงเสริมการเขBถึงแหลPงเงินทุน ลดตBนทุนทางการเงิน ตลอดจนใหBความรูBและใหBคำปรึกษาทางการเงินใหBแกPผูBประกอบธุรกิจที่มีหลักประกันไมPเพียงพอ โดยขอบเขตและรูปแบบการค้ำประกันของ NaCGA จะไม;จำกัดเฉพาะการค้ำประกันสินเชื่อจากธนาคารดังที่มีอยู;ในปYจจุบัน แต;จะครอบคลุมถึงกระบวนการเขMถึงแหล;งทุน ในรูปแบบอื่น ๆ เช;น ค้ำประกันแหล;งทุนจากสถาบันการเงินอื่นที่ไม;ใช;ธนาคาร (Non-Bank) การค้ำประกันหุนกู ของผูMประกอบการ SMEs เป1นตMน โดยค;ธรรมเนียมในการค้ำประกันจะอิงตามระดับความเสี่ยงของลูกหนี้ (RiskBased Pricing) ซึ่งจะช;วยลดตMนทุนทางการเงินในการเขMถึงแหล;งทุนของผูMประกอบการ SMEs ไดM อีกทั้งการค้ำประกันสินเชื่อของ NaCGA จะเนนการค้ำประกันโดยตรง (Direct Guarantee Approach) และรายสัญญา (Individual Guarantee) ซึ่งลูกหนี้จะขอใหM NaCGA ค้ำประกันเครดิตของตน และเมื่อไดMรับการค้ำประกันแลว ลูกหนี้สามารถเลือกธนาคารหรือ Non-bank ที่ใหMอัตราดอกเบี้ยและเงื่อนไขที่เหมาะสมกับบริบทของลูกหนี้มากที่สุด ซึ่งจะเพิ่มอำนาจในการต;อรองใหMแก;ผูMประกอบการ SMEs ในการเขMถึงแหล;งทุน นอกจากนี้ เพื่อใหMการส;งเสริมผูMประกอบการ SMEs ครบวงจรและเบ็ดเสร็จ NaCGA จะทำหนาที่ในการใหความรูและคำปรึกษาทางการเงิน เพื่อสงเสริมการเขาถึงแหลงเงินทุนที่หลากหลายอีกดวย

2) เปzนเครื่องมือเพื่อผลักดัน Strategic Direction ของประเทศตามนโยบายของภาครัฐ และสนับสนุนใหBระบบเศรษฐกิจของประเทศสามารถกBวเขBสูPบริบทโลกใหมP โดย NaCGA สามารถผลักดันอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญของประเทศหรืออุตสาหกรรมที่รัฐบาลตMองการผลักดัน เช;น 8 อุตสาหกรรมภายใตMวิสัยทัศน| Ignite Thailand เปนตน ดวยโครงการหรือผลิตภัณฑค้ำประกันเครดิตที่มีเงื่อนไขพิเศษ โดยมีคณะกรรมการกำกับนโยบาย ซึ่งประกอบดMวยผูMแทนจากหน;วยงานรัฐที่เกี่ยวขMอง ผูMแทนจากภาคเอกชน และผูMทรงคุณวุฒิ กำกับนโยบายและทิศทางขององค|กรเพื่อใหMสอดคลMองกับแนวโนMมเศรษฐกิจและนโยบายของภาครัฐในระยะยาวไดM ซึ่งจะทำใหMภาครัฐสามารถสงผานนโยบายในการกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศผานองคกรนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ

3) เปzนกลไกรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจในกรณีที่เกิดภาวะวิกฤตและมีความเสี่ยง ในระบบการเงินสูง ดMวยขอบเขตและรูปแบบการค้ำประกันที่หลากหลายกว;ที่มีอยู;ในปYจจุบัน และดMวยโครงสรMงองค|กร ที่มีความยืดหยุ;นทั้งในมิติของการกำกับดูแลและแหล;งเงินจากเงินสมทบจากรัฐบาล เงินสมทบจากผูMประกอบธุรกิจสินเชื่อ และค;ธรรมเนียมจากผูMขอรับการค้ำประกัน ทั้งนี้ NaCGA จะทำใหMผูMประกอบการ SMEs และประชาชนมีทางเลือกในการเขMถึงแหล;งทุนมากขึ้น และสามารถตอบสนองความตMองการในดMนสภาพคล;องไดMอย;งทันการณ| โดยเฉพาะในภาวะที่มีความเสี่ยงและความไม;แน;นอนในระบบเศรษฐกิจสูง เช;น กรณีที่เกิดการแพร;ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนตน

นายพรชัยฯ กลPวเพิ่มเติมวP กลไกการค้ำประกันที่มีประสิทธิภาพจากการจัดตั้ง NaCGA จะนำไปสูระบบนิเวศน (Ecosystem) ใหมสำหรับภาคธุรกิจไทย อันจะนำมาซึ่งประโยชนตอทุกภาคสวน ดังนี้ (1) ภาคธุรกิจและประชาชน สามารถเขMถึงสินเชื่อหรือแหล;งเงินทุนไดMดMวยตMนทุนทางการเงินที่เหมาะสม กับความเสี่ยงของตนมากขึ้น ตลอดจนสามารถเขMถึงแหล;งเงินทุนไดMหลากหลายขึ้น ซึ่งจะช;วยลดการพึ่งพาหนี้นอกระบบของภาคธุรกิจและประชาชน

(2) สถาบันการเงินและเจาหนี้ สามารถลดตMนทุนในการประเมินความเสี่ยงดMนเครดิตของลูกหนี้และภาระการดำรงเงินสำรอง อีกทั้งมีแรงจูงใจในการบริหารจัดการความเสี่ยงดานเครดิตอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

(3) หน;วยงานภาครัฐ มีเครื่องมือในการส;งผ;นนโยบายใหMความช;วยเหลือกลุ;มเปWหมายในรูปแบบ การค้ำประกันเครดิตที่หลากหลาย และมีฐานขMอมูลความเสี่ยงดMนเครดิตที่สมบูรณ|ขึ้นเพื่อใชMประกอบการดำเนินนโยบายของภาครัฐ

(4) เศรษฐกิจไทยโดยรวม มีกลไกในการรองรับความผันผวนทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในกรณีที่เกิดภาวะวิกฤตที่มีความเสี่ยงและความไม;แน;นอนในระบบเศรษฐกิจสูง อีกทั้งเป1นกลไกที่ช;วยสรMงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในอนาคต ตลอดจนชวยในการผลักดันและสนับสนุนอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ

นายพรชัยฯ ไดBเนBนย้ำวP ฤตลอดระยะเวลาที่ผPนมา กระทรวงการคลังไดBใหBความสำคัญกับการใหB ความชPวยเหลือและสนับสนุนผูBประกอบการ SMEs ซึ่งเปzนกลุPมที่มีสPวนสำคัญในการชPวยสรBงมูลคPทางเศรษฐกิจและการจBงงานภายในประเทศ กระทรวงการคลังจึงมีความมุPงหมายในการยกระดับสPงเสริมใหBผูBประกอบการ SMEs สามารถเขBถึงแหลPงทุนเพื่อใหBสามารถเปzนฟpนเฟษองสำคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต โดยกระทรวงการคลังและธนาคารแหPงประเทศไทยจะรPวมกันหารือกับหนPวยงานที่เกี่ยวขBองและยกรPงกฎหมายจัดตั้ง NaCGA และนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาในระยะตอไปึ

----------------------------------------------------------------สอบถามขอมูลเพิ่มเติม สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร 0 2273 9020 ตอ 3243 และ 3270

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ