รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 9 ส.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday August 14, 2024 15:16 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ค. 67 เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.8 ต่อปี เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ

ราคาน้ามันเชื้อเพลิงตามสถานการณ์ราคาน้ามันในตลาดโลก ประกอบกับการสูงขึ้นของ

ราคาสินค้ากลุ่มอาหาร เช่น ข้าวสารจ้าว ข้าวสารเหนียว และอาหารส้าเร็จรูป และ เมื่อหัก

อาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังคงขยายตัวร้อยละ 0.5 ต่อปี

? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 ต่อปี เนื่องจากการสูงขึ้นของ

ดัชนีราคาหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดวัสดุฉาบผิว และ

ผลิตภัณฑ์คอนกรีต เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2567 ในโครงการก่อสร้าง

ของภาครัฐ การเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ท้าให้มีความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น

? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก .ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -3.7 ต่อปี

เนื่องจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียใน

สินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูง สร้างแรงกดดันต่อการจับจ่ายใช้สอยต่อผู้บริโภคให้ชะลอตัวลง

อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ค. 67เพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.8ต่อปี

?

เงินเฟ้อทั่วไปไทย เดือน ก.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.8 (YoY) จากการเพิ่มขึ้นของราคาน้ามันเชื้อเพลิงตามสถานการณ์ราคาน้ามันในตลาดโลก ประกอบกับการสูงขึ้นของราคาสินค้ากลุ่มอาหาร เช่น ข้าวสารจ้าว ข้าวสารเหนียว และอาหารส้าเร็จรูป

?

โดยเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.2 (MoM) จากการสูงขึ้นของราคาน้ามันเบนซินและแก๊สโซฮอล์รวมทั้งราคาสินค้าในกลุ่มอาหารส้าเร็จรูปและผลไม้สด

?

อย่างไรก็ตาม มีสินค้าที่ราคาลดลง ได้แก่ กลุ่มผักสดและของใช้ส่วนบุคคล เนื่องจากมีผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น และการส่งเสริมการตลาดของผู้ประกอบการ

?

เมื่อดูองค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลง (Contribution YoY) พบว่า หมวดยานพาหนะและน้ามันเชื้อเพลิง หมวดอาหารส้าเร็จรูป และหมวดอาหารสด เป็นปัจจัยบวกที่ท้าให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 0.42และ 0.24และ 0.23ขณะที่ หมวดไฟฟ้าน้าประปา เป็นปัจจัยลบที่ท้าให้เงินเฟ้อลดลงที่ร้อยละ -0.18

?

และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้วอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้นร้อยละ 0.5 (YoY) และสูงขึ้นที่ร้อยละ 0.2 (MoM)

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40.4เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 6767เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40.4เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาโดยดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างที่เพิ่มขึ้น อาทิ ดัชนีราคาหมวดไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ หมวดอุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา หมวดวัสดุฉาบผิว และผลิตภัณฑ์คอนกรีต เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 3.6 1.61.6และ 1.41.4ตามล้าดับ เนื่องจากการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ การเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ท้าให้มีความต้องการใช้วัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น ขณะที่ ดัชนีราคาหมวดเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กลดลง ซึ่งยังคงเป็นผลกระทบจากปัญหาวิกฤตอสังหาริมทรัพย์ของจีนยังไม่ฟื้น

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -3.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลขยายตัวที่ร้อยละ 0.7

ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถ จากปัญหาหนี้เสียในสินเชื่อกลุ่มนี้ที่อยู่ในระดับสูง สร้างแรงกดดันต่อการจับจ่ายใช้สอยต่อผู้บริโภคให้ชะลอตัวลง อย่างไรก็ดี การฟื้นตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยว และรายได้เกษตรกรที่แท้จริงขยายตัวดีขึ้น ยังคงเป็น ปัจจัยสนับสนุนการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไปต่อไป

ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือนมิ.ย. 67คิดเป็น 1.95 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ด้ารงตามกฎหมาย

โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ 5.5.43 ล้านล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การด้ารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องด้ารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต้ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต้ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR)

ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

การจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ 114,000 ต้าแหน่ง ต้ากว่าคาดที่ 175,000 ต้าแหน่ง และลดลงจากเดือน มิ.ย 67ที่ 179,000ต้าแหน่ง ซึ่งเป็นระดับต้าสุดในรอบ 3เดือน ต้ากว่าระดับเฉลี่ยรายเดือน 215,000ต้าแหน่งในช่วง 12เดือนก่อนหน้า

อัตราการว่างงานในเดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 สูงสุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 64เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.1และสูงกว่าที่ตลาดคาดที่ร้อยละ 4.1

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM) เดือน ก.ค. 67อยู่ที่ 48.8ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ 53.8 จุด ต้ากว่าที่ตลาดคาดที่ 52.5จุด

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (21 ก.ค 3 ส.ค. 67) อยู่ที่ 2.33แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าและต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.40 แสนราย ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.40แสนราย

มูลค่าการส่งออกสินค้า เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.6 ต่อปี ขยายตัวกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ที่ร้อยละ 3.1ต่อปี

มูลค่าการน้าเข้าสินค้า เดือน มิ.ย. 67 ขยายที่ร้อยละ 3.1 ต่อปี หดตัวในอัตราที่ชะลอตัวกว่าก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.4ต่อปี

ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 67 ขาดดุลที่ -9.2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ -10.2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ

สหรัฐอเมริกา

ญี่ปุ่น

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน มิ.ย. 67 เกินดุล 1,533.5 พันล้านเยน ซึ่งเป็นการเกินดุลเป็นเดือนที่ 17 ติดต่อกัน โดยดุลการค้าเกินดุล 556.39 พันล้านเยน ดุลบริการขาดดุล -375.8 พันล้านเยน รายได้ปฐมภูมิเกินดุล 1.473.7พันล้านเยน รายได้ทุติยภูมิขาดดุล -120.7พันล้านเยน

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ 53.7 เพิ่มจากระดับ 49.4ในเดือนก่อนหน้า จากการเพิ่มขึ้นของจ้านวนลูกค้าและอุปสงค์

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -0.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาหดตัวอีกครั้งหลังจากขยายตัวต่อเนื่อง 3เดือนติดต่อกัน และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.2

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.8จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 53.0จุด โดยดัชนีที่อยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือน มิ.ย. 67ที่ขยายตัวร้อยละ 8.6จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการน้าเข้า เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน กลับมาขยายตัวจากที่หดตัวในเดือน มิ.ย. 67ที่ร้อยละ 2.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 84.65 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากเดือน มิ.ย. 67ที่เกินดุลที่ระดับ 99.05พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.2และอัตราเงินเฟ้อได้ขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6สะท้อนถึงอุปสงค์ภายในประเทศที่ปรับตัวดีขึ้น

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.2จุด และอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด ต่อเนื่องกันเป็นเดือนที่ 19สะท้อนการขยายตัวที่ดีของภาคบริการ

GDPไตรมาสที่ 2 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.05 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.11จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสอดคล้องกับที่ตลาดคาดการณ์

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

อินเดีย

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (HSBC India Services PMI) (final) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 60.3 เพิ่มขึ้นจากระดับ 60.5ในเดือนก่อนหน้า เป็นการเติบโตต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 36โดยได้รับแรงหนุนจากการปรับตัวดีขึ้นของภาคการประกอบธุรกิจ

ธนาคารกลางอินเดีย (RBI) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Repo rate) ที่ร้อยละ 6.5 ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 9 ในเดือน ส.ค. 67 สู่เป้าหมายอัตราเงินเฟ้อระยะกลางที่ร้อยละ 4

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.52 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.42 และสูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่อยู่ที่ร้อยละ 2.50อัตราเงินเฟ้อดังกล่าวถือเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ ก.พ. 67อันเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดอาหาร หมวดที่อยู่อาศัย และหมวดการศึกษาและความบันเทิง เป็นส้าคัญ

การส่งออก เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 23.5 และต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 6.1 นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 การส่งออกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากการชะลอตัวของยอดส่งออกสินค้าในหมวดชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ หมวดโลหะพื้นฐาน หมวดเครื่องจักร และหมวดพลาสติกและยาง เป็นส้าคัญ

การน้าเข้า เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 33.9 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.2 การน้าเข้าในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของการน้าเข้าสินค้าในหมวดชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หมวดอุปกรณ์ส้าหรับสารสนเทศการสื่อสารและโสตทัศนูปกรณ์ เป็นส้าคัญ

ดุลการค้า เดือน ก.ค. 67 เกินดุลอยู่ที่ 4.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 4.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ 6.1พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ยอดค้าปลีกเดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 8.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ยอดค้าปลีกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของสินค้าในร้านค้าที่ไม่ใช่ร้านค้าเฉพาะทาง และสินค้าในหมวดเครื่องใช้ภายในบ้านในร้านค้าเฉพาะทาง เป็นส้าคัญ

อัตราการว่างงานเดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.3 ของก้าลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้า ตัวเลขดังกล่าวเป็นตัวเลขที่ต้าที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 63ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน มิ.ย. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 4.7นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากภาคการผลิตเป็นส้าคัญ

ดุลบัญชีเดินสะพัด เดือน พ.ค. 67 เกินดุล 12.26 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลสูงสุดนับจาก ก.ย. 60 โดยดุลการค้าเกินดุล 11.74 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 8.7 ต่อปี และการน้าเข้าหดตัวร้อยละ -5.7ต่อปี ขณะที่ดุลบริการขาดดุล -1.62พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากการท่องเที่ยวและธุรกิจบริการที่ลดลง

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 57.2 สะท้อนการขยายตัวที่มากสุดนับจาก ต.ค. 65จากการเพิ่มของการจ้างงาน และกิจกรรมการซื้อ

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -0.6 ต่อปี (ร้อยละ -3.7 ต่อเดือน) จากที่ขยายตัวร้อยละ 2.2ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 52.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.1จุด โดยดัชนีที่อยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

เยอรมนี

อัตราการว่างงาน เดือน มิ.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 7.0 ของก้าลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.9ของก้าลังแรงงานรวม

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.7จุด โดยดัชนียังคงสูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

อิตาลี

สเปน

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 56.8จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 56.0จุด โดยดัชนีที่อยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขยายตัวต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่ต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) Hang SengSeng(ฮ่องกง) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 88ส.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,296.25 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 5 -8 ส.ค. 67 อยู่ที่43,354.86 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 5 -8 ส.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 372.20 ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 4 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -6 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 5 -20 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 -4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 ปี และ 15 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.32 และ 2.82 เท่าของวงเงินประมูล ตามล้าดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่5 -8 ส.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 25,433.59 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 8ส.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-20.99 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่8 ส.ค. 67เงินบาทปิดที่ 35.45 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.08จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่าน้อยกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.78

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ