รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 16 ส.ค. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Monday August 19, 2024 13:26 —กระทรวงการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.ค. 67 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 57.7 เนื่องจาก

ความกังวลของผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นตัวได้ช้า และความกังวลต่อประเด็น

เสถียรภาพการเมืองไทยที่เกิดภาพความไม่แน่นอนมากขึ้น รวมถึงประเด็นความ ขัดแย้ง

ทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.ค. 67 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 57.7 จากระดับ 58.9

ในเดือนก่อน โดยเป็นการปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

ความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังคงได้รับปัจจัยฉุดรั้งจากความกังวลของผู้บริโภคต่อภาวะเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นตัวได้ช้า และความ กังวล

ต่อประเด็นเสถียรภาพการเมืองไทยที่เกิดความไม่แน่นอนมากขึ้น รวมถึงประเด็นความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลกที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ส่งผลให้สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนไทยในช่วงที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง

ราคาพืชผลทางการเกษตรหลายรายการที่ปรับตัวดีขึ้น การดาเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านมาตรการภาษีเพื่อ กระตุ้น

การท่องเที่ยวเมืองรอง 55 จังหวัด และสนับสนุนการมีที่อยู่อาศัยของประชาชนผ่านมาตรการกระตุ้นภาคอสังหาริมทรัพย์

ยังเป็นปัจจัยสนับสนุนต่อความเชื่อมั่นผู้บริโภคในระยะต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ต่ากว่า

ที่ตลาดคาดการณ์ โดยลดลงกว่าเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.7 ขณะที่ดัชนีราคาผลิตพื้นฐาน

(Core PPI) ออกมาที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ต่ากว่าที่ตลาดคาดเช่นกัน

อัตราเงินเฟ้อรายปีเดือน ก.ค. 67 ปรับตัวลดลงเป็นร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.0 ต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ร้อยละ 3.0

ในขณะที่ Core inflation rate รายปีเดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.2 ซึ่งลดลงสู่ระดับต่าสุด

ในรอบกว่า 3 ปี

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (4 - 10 ส.ค. 67) อยู่ที่ 2.27 แสนราย

ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.34 แสนราย ทั้งนี้ จานวน

ผู้ข อ รับ ส วัส ดิก ร ว่า ง ง น เ ฉ ลี่ย 4 สัป ด ห์ (four week moving average) ซึ่ง ข จัด

ความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.37 แสนราย

ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา

คาสั่งซื้อเครื่องมือกล (Machine Tool Orders) เดือน ก.ค.67 ขยายตัวร้อยละ 8.4 ต่อปี

ชะลอตัวจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 9.7 ต่อปี แต่ยังนับว่าเป็นเดือนที่สามติดต่อกัน

ของการขยายคาสั่งซื้อเครื่องมือ โดยสาเหตุหลักมาจากคาสั่งซื้อจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) (final) เดือน มิ.ย.67 หดตัวร้อยละ

-7.3 ต่อปี (ร้อยละ -3.6 ต่อเดือน) หดตัวเป็นครั้งที่ห้าในปีนี้ ทั้งนี้ การผลิตภาคอุตสาหกรรม

ในญี่ปุ่นเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 4.5 ตั้งแต่ปี 2497 ถึง 67

GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 67 (ปรับปรุงครั้งที่ 2) ขยายตัวร้อยละ 0.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

เร่งขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และเป็นไปตามที่

ตลาดคาดการณ์

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 67 หดตัวร้อยละ -3.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -3.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และหดตัวมากกว่าที่ตลาด

คาดการณ์ที่ร้อยละ -2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อน

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นการขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 17

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 5.2 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.0 ของกาลังแรงงานรวม และมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ร้อยละ

5.1 ของกาลังแรงงานรวม

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

อัตราการว่างงาน เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 4.2 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.1 ของกาลังแรงงานรวม นับเป็นอัตราการว่างงานสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 65

อินเดีย ออสเตรเลีย

ผลผลิตภาคอุต สาหกรรม (Industrial Output) เดือน มิ.ย . 67 ขยายตัวร้อยละ 4. 2

เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ซึ่งน้อยกว่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 5.5

เนื่องจากผลิตภัณฑ์ยาสูบ ยา และเคมีภัณฑ์หดตัวลง

อัตราเงินเฟ้อ (Inflation Rate) เดือน ก .ค. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 3.54 เมื่อเทียบกับ

ในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ลดลงจากร้อยละ 5.08 ในเดือนก่อน และต่ากว่าการคาดการณ์

ของตลาดที่ร้อยละ 3.65 ซึ่งสะท้อนถึงการเติบโตของราคาที่น้อยที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 62

และเป็นครั้งแรกที่อัตราเงินเฟ้อต่ากว่าเป้าหมายของธนาคารกลางที่ร้อยละ 4 ในรอบ 5

ซึ่งเป็นผลมาจากผลกระทบจากราคาอาหารเป็นหลัก

ดุลการค้า (Balance of Trade) เดือน ก.ค. 67 ขาดดุลเพิ่มขึ้นเป็น 23.5 พันล้านดอลลาร์

ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการขาดดุล 20.7 พันล้านดอลลาร์ ในช่วงเวลาเดียวกันของปี

การนาเข้า (Import) เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.5 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปี

ก่อนหน้า เป็น 57.5 พันล้านดอลลาร์ เนื่องจากราคาพลังงานที่สูงขึ้นทาให้มูลค่าการซื้อ

จากต่างประเทศที่สาคัญเพิ่มขึ้น

การส่งออก (Export) เดือน ก.ค 67 หดตัวร้อยละ 1.5 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปี

ก่อนหน้า เป็น 34 พันล้านดอลลาร์

อินโดนีเซีย

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 11.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก

เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ก.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 0.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือน

ก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 2.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.9 ต่อปี (หรือขยายตัวร้อยละ 0.6 ต่อไตรมาส)

ส่งผลให้ครึ่งแรกของปี 67 เศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัวร้อยละ 3.0 ต่อปี

ดุลบัญชีเดินสะพัด ไตรมาส 2 ปี 67 เกินดุล 34.6 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ โดยดุลบริการ

เกินดุล 13.7 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์ ดุลการค้าเกินดุล 51.8 พันล้านดอลลาร์สิงคโปร์

GDP (เบื้องต้น) ไตรมาส 2 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้น

จากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 0.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และขยายตัว

ตรงกับที่ตลาดคาดการณ์

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อขยายตัวน้อยกว่าที่ตลาด

คาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 2.3

อัตราการว่างงาน ไตรมาส 2 ปี 67 อยู่ที่ร้อยละ 7.3 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อน

หน้าและต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ร้อยละ 7.5 ของกาลังแรงงานรวม

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก .ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นไปตาม

คาดการณ์ของตลาด และเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อน

หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.4 และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นNikkei225 (ญี่ปุ่น) IDX(อินโดนีเซีย) และ HangSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 15ส.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,289.84 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 13-15 ส.ค. 67 อยู่ที่45,106.46 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 13-15 ส.ค. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 95.22ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 เดือน ถึง 20 ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -3 ถึง -8 โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลทั้งนี้ ระหว่างวันที่13-15ส.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออมจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -25,335.50ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 15ส.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-16,344.59 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่15ส.ค. 67เงินบาทปิดที่ 35.09บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.04จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวนที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.69

ที่มา: กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ