ฉบับที่ 27/2567 วันที่ 23 สิงหาคม 2567
ฐานะการคลังของรัฐบาลในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567)
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อานวยการสานักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยฐานะการคลังของรัฐบาล ตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลังทั้งสิ้น จานวน 2,201,488 ล้านบาท ในขณะที่มีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้นจานวน 2,746,931 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 468,170 ล้านบาท ส่งผลให้ เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 432,097 ล้านบาท
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567)
หน่วย: ล้านบาท
10 เดือนแรก
เปรียบเทียบ
ปีงบประมาณ2567
ปีงบประมาณ2566
จานวน
ร้อยละ
1. รายได้
2,201,488
2,136,196
65,292
3.1
2. รายจ่าย (2.1 + 2.2)
2,746,931
2,799,540
(52,609)
(1.9)
2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน
2,627,566
2,658,772
(31,206)
(1.2)
2.2 รายจ่ายปีก่อน
119,365
140,768
(21,403)
(15.2)
3. ดุลเงินงบประมาณ
(545,443)
(663,344)
117,901
17.8
4. ดุลเงินนอกงบประมาณ
(29,686)
(112,375)
82,689
73.6
5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4)
(575,129)
(775,719)
200,590
25.9
6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล
468,170
450,643
17,527
3.9
7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6)
(106,959)
(325,076)
218,117
67.1
8. เงินคงคลังต้นงวด
539,056
624,019
(84,963)
(13.6)
9. เงินคงคลังปลายงวด
432,097
298,943
133,154
44.5
หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2567
ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3557
- 2 -
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดประจาเดือนกรกฎาคม 2567 และในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567)
ในเดือนกรกฎาคม 2567 รัฐบาลขาดดุลเงินสด จานวน 57,883 ล้านบาท โดยเป็นการขาดดุล เงินงบประมาณ จานวน 18,138 ล้านบาท และเป็นการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 39,745 ล้านบาท ส่งผลให้เงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2567 มีจานวน 432,097 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ฐานะการคลังเดือนกรกฎาคม 2567 1.1 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง จานวน 197,737 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 18,265 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 10.2) โดยการนาส่งรายได้ของกรมสรรพากร (ภาษีมูลค่าเพิ่ม) กรมสรรพสามิต (ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน) และรัฐวิสาหกิจสูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ และรัฐวิสาหกิจบางแห่งนาส่งรายได้เหลื่อมเดือนจากปีที่แล้ว ประกอบกับปีที่แล้วมีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 5 บาท/ลิตร อย่างไรก็ดี การนาส่งรายได้ของส่วนราชการอื่นต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจาก ปีที่แล้วมีรายได้พิเศษจากการนาส่งเงินเหลือจ่ายจากเงินกู้ภายใต้พระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลัง กู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 1.2 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จานวน 215,875 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 18,161 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 7.8) โดยเป็นรายจ่ายปีปัจจุบัน จานวน 208,739 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 7.1 และการเบิกจ่ายเงินจากงบประมาณปีก่อน จานวน 7,136 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 24.0 โดยรายจ่ายปีปัจจุบันประกอบด้วย (ตารางที่ 1) 1.2.1 รายจ่ายประจา จานวน 168,004 ล้านบาท ต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วคิดเป็น ร้อยละ 9.9 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกระทรวงศึกษาธิการ เบิกจ่ายต่ากว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 1.2.2 รายจ่ายลงทุน จานวน 40,735 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็น ร้อยละ 6.5 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม และกระทรวงศึกษาธิการ เบิกจ่ายสูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สาคัญในเดือนนี้ ได้แก่ งบลงทุนของกรมทางหลวง จานวน 12,961 ล้านบาท งบอุดหนุนของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จานวน 12,096 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 8,110 ล้านบาท งบลงทุนของกรมชลประทาน จานวน 7,184 ล้านบาท งบอุดหนุนของสานักงานศาลยุติธรรม จานวน 4,896 ล้านบาท เงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 3,244 ล้านบาท งบลงทุนของกรมทางหลวงชนบท จานวน 2,866 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่น ของกรมการปกครอง จานวน 2,750 ล้านบาท และการเบิกจ่ายงบกลางรายการที่สาคัญ ได้แก่ เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ จานวน 30,712 ล้านบาท เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ จานวน 10,916 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 8,747 ล้านบาท เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 765 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายชดใช้ เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน จานวน 697 ล้านบาท และเงินสารองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จานวน 489 ล้านบาท - 3 - ตารางที่ 1 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณเดือนกรกฎาคม 2567 หน่วย: ล้านบาท เดือนกรกฎาคม เปรียบเทียบ 2567 2566 จานวน ร้อยละ 1. รายจ่ายปีปัจจุบัน (1.1+1.2) 208,739 224,646 (15,907) (7.1) 1.1 รายจ่ายประจา 168,004 186,405 (18,401) (9.9) 1.2 รายจ่ายลงทุน 40,735 38,241 2,494 6.5 2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 7,136 9,390 (2,254) (24.0) 3. รายจ่ายรวม (1+2) 215,875 234,036 (18,161) (7.8) ที่มา: กรมบัญชีกลาง 1.3 ดุลการคลังรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสด ณ เดือนกรกฎาคม 2567 ขาดดุล จานวน 57,883 ล้านบาท โดยเป็นการขาดดุลเงินงบประมาณ จานวน 18,138 ล้านบาท และเป็นการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 39,745 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากรายจ่ายเหลื่อมมาเดือนมิถุนายน 2567 มาเบิกจ่ายในเดือนกรกฎาคม 2567 สุทธิ จานวน 22,143 ล้านบาท และการถอนเงินฝากคลังของกองทุนประชารัฐเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม สุทธิ จานวน 4,729 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 40,000 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังกู้ (หลังกู้ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุล จานวน 17,883 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 432,097 ล้านบาท (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดเดือนกรกฎาคม 2567 หน่วย: ล้านบาท เดือนกรกฎาคม เปรียบเทียบ 2567 2566 จานวน ร้อยละ 1. รายได้ 197,737 179,472 18,265 10.2 2. รายจ่าย (2.1 + 2.2) 215,875 234,036 (18,161) (7.8) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 208,739 224,646 (15,907) (7.1) 2.2 รายจ่ายปีก่อน 7,136 9,390 (2,254) (24.0) 3. ดุลเงินงบประมาณ (18,138) (54,564) 36,426 66.8 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (39,745) (14,707) (25,038) (170.2) 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) (57,883) (69,271) 11,388 16.4 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 40,000 15,400 24,600 159.7 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) (17,883) (53,871) 35,988 66.8 8. เงินคงคลังต้นงวด 449,980 352,814 97,166 27.5 9. เงินคงคลังปลายงวด 432,097 298,943 133,154 44.5 หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2567 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3557 - 4 - 2. ฐานะการคลังในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) 2.1 รัฐบาลมีรายได้นาส่งคลัง จานวน 2,201,488 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 65,292 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 3.1) โดยการนาส่งรายได้ของกรมสรรพสามิต (ภาษีน้ามันและผลิตภัณฑ์น้ามัน) กรมสรรพากร (ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา) และรัฐวิสาหกิจสูงกว่าช่วงเดียวกัน ปีที่แล้ว ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ ประกอบกับปีที่แล้วมีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 5 บาท/ลิตร ขณะที่ปีนี้มีการลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล 2.5 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 20 กันยายน - 31 ธันวาคม 2566 และ 1 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 20 มกราคม - 19 เมษายน 2567 และน้ามันเบนซิน 1 บาท/ลิตร ในระหว่างวันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 - 31 มกราคม 2567 อีกทั้งมีการนาส่งรายได้เพิ่มเติมของกองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง อย่างไรก็ดี การนาส่งรายได้ของหน่วยงานอื่นและกรมศุลกากรต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว เนื่องจากปีที่แล้วมีรายได้พิเศษรวม 69,475 ล้านบาท 2.2 รัฐบาลมีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณทั้งสิ้น จานวน 2,746,931 ล้านบาท ต่ากว่า ช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 52,609 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 1.9) โดยเป็นรายจ่ายปีปัจจุบัน จานวน 2,627,566 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 31,206 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2 และการเบิกจ่าย เงินจากงบประมาณปีก่อน จานวน 119,365 ล้านบาท ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว จานวน 21,403 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 15.2 โดยรายจ่ายปีปัจจุบันประกอบด้วย (ตารางที่ 3) 2.2.1 รายจ่ายประจา จานวน 2,321,466 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 84.2 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาหลังโอนเปลี่ยนแปลง จานวน 2,757,458 ล้านบาท) สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 2.2 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกองทุนและเงินทุนหมุนเวียน กระทรวงการคลัง และกระทรวงสาธารณสุขเบิกจ่าย สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 2.2.2 รายจ่ายลงทุน จานวน 306,100 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 42.4 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง จานวน 722,542 ล้านบาท) ต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 21.1 ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากกระทรวงคมนาคม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เบิกจ่ายต่ากว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่สาคัญ ได้แก่ รายจ่ายชาระหนี้ของกระทรวงการคลัง จานวน 265,519 ล้านบาท งบอุดหนุนของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จานวน 194,484 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จานวน 152,738 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จานวน 100,816 ล้านบาท เงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 88,076 ล้านบาท เงินอุดหนุนของกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 75,680 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จานวน 65,596 ล้านบาท งบลงทุนของ กรมทางหลวง จานวน 56,030 ล้านบาท งบอุดหนุนของสานักงานประกันสังคม จานวน 55,367 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานปลัดกระทรวงการคลัง จานวน 50,241 ล้านบาท งบลงทุนของกรมชลประทาน จานวน 32,761 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของกรมการปกครอง จานวน 27,093 ล้านบาท งบอุดหนุน ของสานักงานศาลยุติธรรม จานวน 21,622 ล้านบาท งบอุดหนุนของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จานวน 18,721 ล้านบาท งบอุดหนุนของกรมกิจการเด็กและเยาวชน จานวน 15,153 ล้านบาท งบรายจ่ายอื่นของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จานวน 15,058 ล้านบาท และการเบิกจ่ายงบกลางรายการที่สาคัญ ได้แก่ เงินเบี้ยหวัด บาเหน็จ บานาญ จานวน 313,548 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 88,486 ล้านบาท เงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยของข้าราชการ จานวน 62,516 ล้านบาท เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น จานวน 3,517 ล้านบาท เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ จานวน 3,490 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายชดใช้เงินทดรองราชการ เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน จานวน 3,483 ล้านบาท - 5 - ตารางที่ 3 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) หน่วย: ล้านบาท 10 เดือนแรก เปรียบเทียบ ร้อยละต่อวงเงินงบประมาณ ปีงบประมาณ 2567 ปีงบประมาณ2566 จานวน ร้อยละ 1. รายจ่ายปีปัจจุบัน (1.1+1.2) 2,627,566 2,658,772 (31,206) (1.2) 75.5 1.1 รายจ่ายประจา 2,321,466 2,270,989 50,477 2.2 84.2 1.2 รายจ่ายลงทุน 306,100 387,783 (81,683) (21.1) 42.4 2. รายจ่ายจากงบประมาณปีก่อน 119,365 140,768 (21,403) (15.2) 75.3 3. รายจ่ายรวม (1+2) 2,746,931 2,799,540 (52,609) (1.9) 75.5 ที่มา: กรมบัญชีกลาง 2.3 ดุลการคลังรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดขาดดุล จานวน 575,129 ล้านบาท โดยเป็น การขาดดุลเงินงบประมาณ จานวน 545,443 ล้านบาท และการขาดดุลเงินนอกงบประมาณ จานวน 29,686 ล้านบาท ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการถอนเงินฝากคลังของภาษีมูลค่าเพิ่มให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม งวดที่ 10 - 12 ของปีงบประมาณ 2566 สุทธิ จานวน 31,610 ล้านบาท โดยรัฐบาลได้ กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล จานวน 468,170 ล้านบาท ส่งผลให้ดุลเงินสดหลังกู้ (หลังกู้ชดเชยการขาดดุล) ขาดดุล จานวน 106,959 ล้านบาท และเงินคงคลัง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2567 มีจานวนทั้งสิ้น 432,097 ล้านบาท (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในช่วง 10 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2567 (ตุลาคม 2566 - กรกฎาคม 2567) หน่วย: ล้านบาท 10 เดือนแรก เปรียบเทียบ ปีงบประมาณ2567 ปีงบประมาณ2566 จานวน ร้อยละ 1. รายได้ 2,201,488 2,136,196 65,292 3.1 2. รายจ่าย (2.1 + 2.2) 2,746,931 2,799,540 (52,609) (1.9) 2.1 รายจ่ายปีปัจจุบัน 2,627,566 2,658,772 (31,206) (1.2) 2.2 รายจ่ายปีก่อน 119,365 140,768 (21,403) (15.2) 3. ดุลเงินงบประมาณ (545,443) (663,344) 117,901 17.8 4. ดุลเงินนอกงบประมาณ (29,686) (112,375) 82,689 73.6 5. ดุลเงินสดก่อนกู้ (3+4) (575,129) (775,719) 200,590 25.9 6. เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุล 468,170 450,643 17,527 3.9 7. ดุลเงินสดหลังกู้ (5+6) (106,959) (325,076) 218,117 67.1 8. เงินคงคลังต้นงวด 539,056 624,019 (84,963) (13.6) 9. เงินคงคลังปลายงวด 432,097 298,943 133,154 44.5 หมายเหตุ: ตัวเลขเบื้องต้น ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2567 ที่มา: กรมบัญชีกลาง และสานักงานเศรษฐกิจการคลัง กองนโยบายการคลัง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. 0 2273 9020 ต่อ 3557 ที่มา: กระทรวงการคลัง