รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 27 ก.ย. 67

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday October 2, 2024 13:47 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

สถานการณ์ภาคการเกษตร

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 67 ปรับตัวเพมิ่ ขนึ้ อยทู่ รี่ อยละ 1.3 ต่อปี เนื่องจากการขยายตัวใน

หมวดพืชผลส้าคัญ โดยผลผลิตทางการเกษตรที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็นผลจากปริมาณน้าที่มีเพียงพอในการ

เพาะปลูก ในส่วนดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ส .ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.7 ต่อปี

เนื่องจากการขยายตัวในหมวดพืชผลส้าคัญ (ยางพารา ปาล์มน้ามัน) หมวดปศุสัตว์ (สุกร ไข่ไก่) และ

หมวดประมงที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น

สถานการณ์ภาคอุตสาหกรรม

? ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ส.ค. 67 หดตัวร้อยละ -1.9 ต่อปี โดยการหดตัวแสดงถึงการ

ชะลอตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในกลุ่มยานยนต์ คอมพิวเตอร์ และวัสดุก่อสร้าง ซึ่งจะ

ส่งผลกระทบต่อการจ้างงานและรายได้ในภาคการผลิต อาจน้าไปสู่การชะลอตัวของเศรษฐกิจโดยรวม

อย่างไรก็ดี การหดตัวนั้นมีแนวโน้มน้อยลงเมื่อเทียบกับช่วงต้นปี อาจบ่งชี้ถึงแนวโน้มการฟื้นตัวในระยะยาว

แม้จะยังคงมีความท้าทายอยู่พอสมควร ในส่วนแนวทางการแก้ไข้ควร 1) กระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศผ่าน

มาตรการทางการคลัง 2) ส่งเสริมการส่งออกและหาตลาดใหม่เพื่อชดเชยการชะลอตัวของตลาดหลัก และ

3) เร่งการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐ

สถานการณ์การลงทุนภาคเอกชน

? ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ส.ค. 67 หดตัวที่ร้อยละ -11.9

ต่อปี การลดลงของการจ้าหน่ายเหล็กภายในประเทศ เป็นปัจจัยที่จะสะท้อนถึงการหดตัวของ

ภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ต้องใช้เหล็กในการก่อสร้าง อย่างไรก็ตามมาตรการช่วยเหลือภาคอสังหาริมทรัพย์

ของภาครัฐยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนในระยะต่อไป

สถานการณ์การท่องเที่ยว

? จ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ส .ค. 67 มีจ้านวน 2.96 ล้านคน

ขยายตัวที่ร้อยละ 20.1 ต่อปี โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย

อินเดีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น เป็นส้าคัญ ซึ่งในเดือน ส.ค. 67 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและผู้เยี่ยมเยือน

ชาวไทยยังขยายตัวได้ แต่มีสัญญาณชะลอลงจากเดือนก่อน จากฝนที่ตกในหลายจังหวัดท้าให้เป็น

อุปสรรคต่อการท่องเที่ยว

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ

? การส่งออกสินค้าของไทยในเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 7.0 ต่อปี ในขณะที่การน้าเข้ามีมูลค่า ขยายตัว

ร้อยละ 8.9 ต่อปี ส่งผลให้ดุลการค้าขาดดุลที่มูลค่า 264.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ การส่งออกในช่วงที่

เหลือของปี 67 มีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยทั้งปี สศค. ได้คาดการณ์มูลค่าการส่งออกไว้ว่าจะ

ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 2.7 (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. 67) จากปัจจัยบวกที่ส้าคัญของสัญญาณ

การคลี่คลายของภาวะเงินเฟ้อระดับสูงในหลายประเทศ และแนวโน้มการใช้นโยบายการเงินที่ผ่อนคลาย

ประกอบกับแนวโน้มการชะลอตัวของอัตราค่าระวางเรือขนส่งสินค้าซึ่งช่วยลดต้นทุนด้านโลจิสติก ส์ และ

ช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ส่งออกไทย อย่างไรก็ตาม ยังมีปัจจัยที่อาจกระทบต่อ

การส่งออกไทยในระยะถัดไป อาทิ ปัจจัยด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่มีความไม่แน่นอนสูง ค่าเงินบาทที่ยังแข็งค่าขึ้น

อย่างต่อเนื่อง และปัญหาอุทกภัยในประเทศที่อาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตร

เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์

สถานการณ์ภาครัฐ

? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2566 - 20 กันยายน

2567 พบว่า ณ วันที่ 20 กันยายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง

อยู่ที่ 7.11 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ้านวน 4.04 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 56.90

หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จ้านวน 5.76 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 81.05 ทั้งนี้

จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 13 ก.ย. 2567) ที่ร้อยละ 2.96

แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 6.42 จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ

พ.ศ. 2567 ดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่

กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง

การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน

สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ อุดรธานี นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น และสมุทรปราการ

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ส .ค. 67 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 222,705 ล้านบาท ขยายตัว

ร้อยละ 5.7 ต่อปี เนื่องจากรายจ่ายปีปัจจุบัน ขยายตัวร้อยละ 6.8 ต่อปี และ รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้

หดตัวที่ร้อยละ -20.3 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 5.7 ต่อปี

เนื่องจากขยายตัวจากรัฐวิสาหกิจ และภาษีมูลค่าเพิ่ม

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ส .ค. 67 พบว่าดุลเงินงบประมาณ

ขาดดุลจ้านวน 1,305 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 1.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 67 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรในหมวดพืชผลส้าคัญขยายตัว ร้อยละ 1.4 หมวดปศุสัตว์ขยายตัวร้อยละ 1.0 และหมวดประมงขขายตัวร้อยละ 3.8 ผลผลิต ข้าวเปลือก ข้าวโพด กลุ่มไม้ผล สุกร ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไม ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนยางพารา มันส้าปะหลัง ปาล์มน้ามัน ไข่ไก่หดตัว

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -0.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ส.ค. 67 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรหมวดพืชผลส้าคัญ ขยายตัว ร้อยละ 9.7 หมวดปศุสัตว์ หดตัวอยู่ที่ ร้อยละ -3.9 และหมวดประมง และขยายตัวร้อยละ 21.6 ตามล้าดับ โดยราคา ยางพารา ปาล์มน้ามัน สุกร ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมปรับเพิ่มขึ้น ส่วนข้าวเปลือกมันส้าปะหลัง ข้าวโพด กลุ่มไม้ผล ไก่ ราคาปรับลดลง ยัง

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อชุดชนบท) ในเดือน ส.ค. 67 ปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.2 แหล่งที่มาของการขยายตัวจากยางพารา กลุ่มไม้ผล หมวดประมง และปาล์มน้ามัน เป็นส้าคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ส.ค. 67 หดตัวร้อยละ -1.9ต่อปี

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

July

Aug

YTD

ยอดจ้าหน่ายเหล็ก

-

6.6 -

5.5 1.8

-

1.8 -

11.9 -

3.3

%mom_sa,

%qoq_sa

-

-

5.1 1.7

5.5

-

10.2

Manufacturing Production Index :

MPI

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวม

โดยดัชนีฯ กลับมาหดตัวอีกครั้งหลังขยายตัวในเดือนก่อนหน้า โดยการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมส้าคัญที่หดตัว ได้แก่ ยานยนต์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง และแร่อโลหะ ปูนซีเมนต์) หดตัวร้อยละ -18 0,,-4.1 และ -8.8 ต่อปี ตามล้าดับ* เป็นผลจากความต้องการภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัวเป็นหลัก ทั้งการบริโภครถยนต์ และที่อยู่อาศัย รวมถึงความต้องการแผงวงจรรวมหรือ ICICที่ยังไม่ฟื้นตัวในตลาดโลก อย่างไรก็ดี การผลิตสัตว์น้าบรรจุกระป๋องเพิ่มขึ้นตามปริมาณวัตถุดิบทูน่าเพิ่มขึ้น อาหารสัตว์ที่เติบโตตามความต้องการจากสหรัฐและยุโรป (*เรียงตามสัดส่วนใน MPIMPIในระบบ TSIC 22หลัก

Indicators

(%yoy)

2023

2024

ทั้งปี

Q1

Q2

July

Aug

YTD

MPI

-

33.8 -3.6

-0.2

1.6

-1.9

-

1 5

%mom_sa,

%qoq_sa

-

-0.1

0.7

3.7

-2.9

-

80.0

85.0

90.0

95.0

100.0

105.0

110.0

Feb-21

May-21

Aug-21

Nov-21

Feb-22

May-22

Aug-22

Nov-22

Feb-23

May-23

Aug-23

Nov-23

Feb-24

May-24

Aug-24

(

Index_Sa

Jan 21 = 100

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ส.ค. 6767หดตัวที่ร้อยละ 11.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวที่ร้อยละ 10.210.2เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจ้าหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ส.ค. 67 หดตัว โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากปริมาณการจ้าหน่ายที่หดตัวของเหล็กประเภท อาทิ เหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี เหล็กแผ่นรีดร้อนชนิดม้วน เหล็กลวด และเหล็กโครงสร้างรูปพรรณชนิดรีดร้อนที่หดตัวร้อยละ 22.7 20.7 19.119.1และ 12.812.8ตามล้าดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศรวมทั้งในภาคอสังหาริมทรัพย์

มูลค่าการส่งออกในเดือนส.ค. 6767มีมูลค่าอยู่ที่ 26,182.326,182.3ล้านดอลลาร์สหรัฐขยายตัวที่ร้อยละ 7.07.0เมื่อเทียบรายปีและเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 0.9

การส่งออกของไทยเมื่อหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามัน ทองค้า และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 6.6เมื่อเทียบรายปี กลุ่มสินค้าส่งออกที่ขยายตัวในเดือนดังกล่าว อาทิ

?

สินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรมเกษตร เช่น ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง ข้าว ยางพารา อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป อาหารเลี้ยงสัตว์ ไขมันและน้ามันจากพืชและสัตว์

?

สินค้าอุตสาหกรรม เช่น รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศ และเครื่องโทรศัพท์

?

ส้าหรับมิติตลาดคู่ค้า พบว่า การส่งออกไปยังตลาดคู่ค้าหลักขยายตัว อาทิ สหรัฐฯ จีน สหภาพยุโรป อาเซียน CLMV เอเชียใต้ สหราชอาณาจักร ลาตินอเมริกา ในขณะที่ตลาดญี่ปุ่นยังคงหดตัวต่อเนื่อง

มูลค่าการน้าเข้าในเดือน ส.ค. 67 มีมูลค่า 25,917.4,917.4ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ8.98.9เมื่อเทียบรายปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ 3.4

การน้าเข้าของไทยขยายตัว โดยมีปัจจัยส้าคัญมาจากกลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่งส้าเร็จรูป

ด้านดุลการค้าในเดือน ส.ค. 67 ขาดดุลมูลค่า 264.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ท้าให้ดุลการค้าสะสมของไทยทั้งปี 67 ขาดดุลสะสมที่ -6,351.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

?เดือนสิงหาคม 2567 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยยังขยายตัวได้ แต่มีสัญญาณชะลอลงจากเดือนก่อน จากฝนที่ตกในหลายจังหวัดท้าให้เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว?

จ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (ล้านคน)

จ้านวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

จ้านวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเดือน ส.ค. 67 มีจ้านวน 2.96 ล้านคน ขยายตัวที่ร้อยละ 20.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวจีน มาเลเซีย อินเดีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น เป็นส้าคัญ อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบหดตัวที่ร้อยละ -2.8จากจ้านวนนักท่องเที่ยวชาวเวียดนาม มาเลเซีย และลาว ที่หดตัวร้อยละ -11.2-7.5และ -1.8ตามล้าดับเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจ้านวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ส.ค. 67มีจ้านวน 21.0ล้านคน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนที่ร้อยละ 4.4อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -6.6จากจ้านวนผู้เยี่ยมเยือนในหลายจังหวัดทางภาคเหนือที่หดตัวเนื่องจากฝนที่ตกอย่างต่อเนื่อง เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว เช่น จังหวัด เชียงราย น่าน พะเยา และล้าปาง -15.8-10.2-7.9และ -7.9ขณะที่ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในจังหวัดอื่น ๆ ยังขยายตัวได้ดี ขณะที่ รายได้จากการท่องเที่ยวของชาวไทยเดือน ส.ค. 67อยู่ที่ 75,138ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 8.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าหดตัวที่ร้อยละ -3.5เป็นผลจากการใช้จ่ายต่อคนต่อทริปของผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ที่ลดลงในรอบ 4เดือน โดยอยู่ที่ 3,574บาท/คน/ทริป แต่ยังขยายตัวที่ร้อยละ 4.2

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2566-20กันยายน 2567พบว่า ณ วันที่ 20 กันยายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 7 11 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ้านวน4.04 แสนล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 56.90

1) จ้านวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2567 (วันที่ 21 ก.ย. -30 ก.ย. 2567) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 70ตามประมาณการของ สศค. อยู่ที่ 9.31หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.71

2) จ้านวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2567 (วันที่ 21 ก.ย. -30 ก.ย. 2567) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 75 ของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 1 29แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 24.13

ทั้งนี้จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 13 ก.ย. 2567) ที่ร้อยละ 2.96 แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็นที่ร้อยละ 6.42จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ดังนี้

1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.71แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.30แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.30หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.02หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 2.99หมื่นล้านบาท)

2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ อุดรธานี (วงเงินลงทุน 411.10 ล้านบาท) นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 311.58 ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 301.17 ล้านบาท) ขอนแก่น (วงเงินลงทุน 292.34 ล้านบาท) และสมุทรปราการ (วงเงินลงทุน280.05ล้านบาท)

9

ที่มา กรมบัญชีกลาง ค้านวณโดย สศค.

ข้อมูล ณ วันที่ 20 ก.ย. 2567

เป้าบัญชีกลางที่ร้อยละ 75

= 5.5.33แสนล้านบาท

รายจ่ายลงทุนรวมทั้งหมด 7 11แสนล้านบาท

เป้าในแบบจ้าลองที่ร้อยละ 770 = 4.98แสนล้านบาท

การเร่งรัดเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนภาครัฐปีงบประมาณ 2567

อัตราการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 13ก.ย. 2567) ร้อยละ 2.69แต่ยังต้ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 6.42

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ส.ค. 67เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 222,705 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.7 ต่อปี ท้าให้ 11 เดือนแรกของปีงบประมาณ 67 เบิกจ่ายที่ร้อยละ 81.6

10

ที่มา กรมสรรพากร ค้านวณโดย สศค.

โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้ 215,978 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 6.8ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 81.7ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจ้า 162,073ล้านบาท หดตัวร้อยละ -0.9ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 89.7 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 83,905 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 39.3ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 51.1 (2) รายจ่ายปีก่อนเบิกจ่ายได้ 6,727ล้านบาท หดตัวที่ร้อยละ -20.3ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 79.5ต่อปี

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ส.ค. 67ได้ 245,902ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.7ต่อปี

โดยรายได้ในเดือน ส.ค. 67ขยายตัวจากรัฐวิสาหกิจ ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 122.0และภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขยายตัวที่ร้อยละ 10.3

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ส.ค. 67พบว่าดุลเงินงบประมาณขาดดุลจ้านวน 1,305ล้านบาท

ทั้งนี้เมื่อรวมกับดุลนอกงบประมาณที่ขาดดุล 19,794 ล้านบาท พบว่าดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล 21,099ล้านบาท โดยในเดือนนี้รัฐบาลมีการกู้เงิน 40,000 ล้านบาท ส่งผลให้จ้านวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 450,998ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

GDP

USUSไตรมาส 2 ปี 67 (Final) ขยายตัวที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือเท่ากับร้อยละ 0.7เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ทั้งนี้ การประมาณการครั้งนี้ปรับลดลงจากประมาณการครั้งก่อนที่ร้อยละ 3.1 และเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 3.0 เมื่อค้านวนแบบ annualized rate ซึ่งเป็นตามคาดการณ์ของตลาด

ดัชนีราคาค่าใช้จ่ายการบริโภคส่วนบุคคล (PCE price Index) ไตรมาส 2 อยู่ที่ร้อยละ 2.5 (QoQ ) ลดลงจากไตรมาส 1 ที่ร้อยละ 3.4 และ Core PCE อยู่ที่ร้อยละ 2.8 (QoQ ) ลดลงจากไตรมาส 1ที่ร้อยละ 3.7

จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (15 -21 ก.ย. 67) อยู่ที่ 2.18 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.22แสนราย ทั้งนี้ จ้านวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.24 แสนราย

สหรัฐอเมริกา

ญี่ปุ่น

ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐานของโตเกียว (Tokyo Core CPI) เดือน ก.ย. 67ขยายตัวร้อยละ 2 ต่อปี ลดลงจาการ้อยละ 2.4 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นการหยุดยั้งการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ตัวเลขล่าสุดยังสอดคล้องกับเป้าหมายเสถียรภาพราคาของ BOJ ที่ร้อยละ 2

ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไปของโตเกียว (Tokyo CPI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ลดลงจากร้อยละ 2.60ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.9 จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่ระดับ 52.1จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8ติดต่อกัน บ่งชี้การขยายตัวต่อเนื่องของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 44.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 45.8จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 45.6จุด โดยดัชนีอยู่ต้ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าและต้ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 2.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ทั้งนี้อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้เป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 3เดือน อันเนื่องจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดที่อยู่อาศัย หมวดอุปกรณ์ตกแต่งและดูแลบ้าน และหมวดสุขภาพ เป็นส้าคัญ

มาเลเซีย

ออสเตรเลีย

ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 4.35ต่อปี

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด ลดลงจากเดือนก่นหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.5จุด นับเป็นระดับที่ต้าที่สุดตั้งแต่เดือน พ.ค. 63และการหดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 8ของกิจกรรมการผลิต

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด ลดลงจากเดือนก่นหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.5จุด อย่างไรก็ดี ดัชนีฯ ยังคงสูงกว่าระดับ 50จุด บ่งชี้ว่าภาคบริการของออสเตรเลียยังคงมีการขยายตัว

ไต้หวัน

อัตราการว่างงานเดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.36 ของก้าลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.34ของก้าลังแรงงานรวม และเป็นการลดลงครั้งแรกในรอบ 2เดือน

ยอดค้าปลีกเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ยอดค้าปลีกในเดือนนี้แสดงให้เห็นถึงการขยายตัวของยอดค้าปลีกในอัตราที่ต้าที่สุดในปีนี้ โดยได้รับปัจจัยกดดันจากยอดขายที่ลดลงของสินค้าในหมวดเชื้อเพลิง ยานยนต์และส่วนประกอบ เป็นส้าคัญ

ผลผลิตอุตสาหกรรมเดือน ส.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 13.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.0นับเป็นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6และเป็นการขยายตัวที่มากที่สุดนับตั้งแต่ พ.ค. 67โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของภาคการผลิต เป็นส้าคัญ

สหราชอาณาจักร

ดัชนียอดค้าปลีก (Retail Sales) เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.5 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า นับเป็นการขยายตัวมากที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.พ. 65อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ลดลงจากร้อยละ 2.5ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCSI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 100 ลดลงจากระดับ 100.8ในเดือนก่อนหน้า

ดัชนีความเชื่อมั่นทางธุรกิจ (BSI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 69 ต้าสุดนับจาก ต.ค. 66จากการชะลอตัวลงของการผลิตและสถานการณ์ทางการเงิน

เกาหลีใต้

อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี โดยเฉลี่ยตั้งแต่ปี 33ถึง 67อัตราเงินเฟ้อพอยู่ที่ร้อยละ 1.77

อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 ต่อปี ต้าสุดนับจาก ส.ค. 64เป็นต้นมา เนื่องจากราคาอาหารต้าสุดในรอบสองปี

การผลิตภาคอุตสาหกรรม (manufacturing production) เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 21.0 ต่อปี (ร้อยละ 6.7 ต่อเดือน) ซึ่งเป็นการขยายตัวมากสุดนับจาก มิ.ย. 64 เนื่องจากผลผลิตอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้น โดยได้แรงหนุนหลักจากการผลิตเซมิคอนดักเตอร์

สิงคโปร์

เยอนมนี

ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.2จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 51.0จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้การขยายตัวของภาคบริการ

ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 40.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 42.4 จุด และต้ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 42.3 จุด โดยดัชนีอยู่ต้ากว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) flash เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 44.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 43.9 จุด และต้ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 44.3 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต้ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20

ฝรั่งเศส

ความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 98.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 96.1จุด

อิตาลี

สเปน

ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 1.1 และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ Hang SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 26 ก.ย. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,4555.03 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 23-26 ก.ย. 67 อยู่ที่556,552.89 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 23-26 ก.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1,109.63ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 5 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 -3 bpsbpsขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6 -2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -5 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่23 -26 ก.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -3,246.88ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 26ก.ย. 67กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ3,040.76 ล้านบาท

เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่2626ก.ย. 67เงินบาทปิดที่ 32.682.68บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.9393จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลริงกิตวอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลเยน ยูโร และเปโซ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 1.63

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ