เศรษฐกิจไทย
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สถานการณ์อุตสาหกรรม
? ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 87.7 ลดลงจากเดือนก่อนเนื่องจาก
จากอุปสงค์ในประเทศชะลอตัวลง โดยเฉพาะสินค้าคงทนเช่นรถยนต์ ประกอบกับกาลังซื้อที่ยังไม่ฟื้นตัว
จากปัญหาหนี้ครัวเรือน และปัญหาสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาตีตลาด ส่งผลให้สินค้าไทยแข่งขันได้ยาก
เนื่องจากต้นทุนสูงกว่า อย่างไรก็ดี การเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐและการเติบโตของภาคการท่องเที่ยว
ยังมีส่วนช่วยให้ความเชื่อมั่นปรับตัวดีขึ้น
สถานการณ์การลงทุนภาคเอกชน
? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.7 ต่อปี เนื่องจาก
มีการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณ ปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ และการเร่งก่อสร้างของหน่วยงาน
ต่าง ๆ แต่ขณะที่การชะลอตัวของภาคอสังหาฯ ส่งผลให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนลดการใช้วัสดุในการ
ก่อสร้าง ซึ่งจะสะท้อนถึงการชะลอตัวด้านการก่อสร้างภาคเอกชน ดังนั้นจากมาตรการอสังหาฯของภาครัฐ
จะช่วยให้ผู้ประกอบการเพิ่มการลงทุนในภาคการก่อสร้างในระยะต่อไป
สถานการณ์การท่องเที่ยว
? ในช่วงสัปดาห์แรกของเดือน ก.ย. 67 (9 ก.ย. ? 15 ก.ย. 67) มีจานวนนักท่องเที่ยว 6.4 แสนคน โดย
เดือน ก.ย. 67 สศค. คาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาทั้งสิ้น 2.7 ล้านคน
ในสัปดาห์ที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นวันหยุดเทศกาลในหลายประเทศ
ในตลาดเอเชีย นอกจากนี้ภาครัฐอาจมีมาตรการส่งเสริมและโปรโมทการท่องเที่ยวในเมืองรองเพื่อให้
นักท่องเที่ยวกระจายตัวไปยังเมืองรองมากขึ้น
สถานการณ์ภาครัฐ
? ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2566 - 13 กันยายน
2567 พบว่า ณ วันที่ 13 กันยายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง
อยู่ที่ 7.21 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จ นวน 3.89 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 53.94
หากรวมการก่อหนี้ผูกพัน มีการใช้จ่ายที่จานวน 5.47 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 75.89
ทั้งนี้ จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 6 ก.ย. 2567) ที่ร้อยละ
1.99 แต่ยังต่ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 4.28 จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ
พ.ศ. 2567 ดังนี้
1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่
กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงกลาโหม และกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียน
สู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ อุดรธานี นครราชสีมา เชียงใหม่ ชลบุรี และขอนแก่น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 87.7
*ประกอบด้วย ยอดคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และ
ผลประกอบการ
ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือน สิงหาคม 2567 ลดลงจากเดือนก่อนอีกครั้ง โดยลดลงในทุกองค์ประกอบย่อยของดัชนีฯ*
จากอุปสงค์ในประเทศชะลอตัวลง โดยเฉพาะสินค้าคงทนเช่นรถยนต์ ประกอบกับกาลังซื้อที่ยังไม่ฟื้นตัวจากปัญหาหนี้ครัวเรือน และ
ปัญหาสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาตีตลาด ส่งผลให้สินค้าไทยแข่งขันได้ยากเนื่องจากต้นทุนสูงกว่า อย่างไรก็ดี การเบิกจ่าย
งบประมาณภาครัฐและการเติบโตของภาคการท่องเที่ยว ยังมีส่วนช่วยให้ความเชื่อมั่นปรับตัวดีขึ้น สาหรับดัชนีคาดการณ์ 3 เดือน
ข้างหน้า ลดลงมาเช่นกันอยู่ที่ระดับ 93.9 จากความกังวลด้านการปรับค่าจ้างขั้นต่าที่อาจส่งผลต่อต้นทุนของผู้ประกอบการ ปัญหา
หนี้เสีย (NPL) ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น และปัญหาด้านภูมิรัฐศาสตร์ที่อาจจะกระทบต่อการค้าการลงทุนโลก และราคาพลังงานสูงขึ้น
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.7 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -3.1 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
Cement Sales
Indicators
(%yoy)
2024
ทั้งปี Q1 Q2 July Aug YTD
ยอดขาย
ปูนซีเมนต์
1.2 -9.1 -8.9 0.7 5.7 -6.0
%mom,
%qoq
- -5.5 3.5 5.7 -3.1
ในเดือน ส.ค. 67 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์กลับมาขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการเร่งเบิกจ่าย
งบประมาณ ปี 2567 ในโครงการก่อสร้างของภาครัฐ และการเร่งก่อสร้างของหน่วยงานต่าง ๆ ทาให้มี
ควา มต้อ งก รใ ช้ปูน ซีเม น ต์เ พิ่มขึ้น นอ ก จา ก นี้ก รที่เ ศร ษฐกิจ ขย ย ตัวไ ด้ต่า รวม ทั้ง ก ร ช ล อ ตัวข อ ง
ภาคอสังหาริมทรัพย์จากปัญหาหนี้ครัวเรือน จะส่งผลให้ความต้องการใช้ปูนซีเมนต์ในการก่อสร้าง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?วันที่ 99ก.ย 1515ก.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 636,932636,932แสนคน โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนจากการฟื้นตัวของตลาดระยะใกล้ ประเทศแต่สอดคล้องกับแนวโน้มสอดคล้องกับที่ สศค. ประเมินไว้ โดยเดือน ก.ย. 67 สศค. คาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาทั้งสิ้น 2.7 ล้านคน?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2567และคาดการณ์
จานวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ 4อันดับแรกรายสัปดาห์ในปี 2567
ที่มา : กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
Indicators
(%yoy)
2023
2024
ทั้งปี
Q1
Q2
Jun
July
YTD
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ yoy 154.4
43.5
26.3
22.3
24.6
20.6
%mom_sa, %qoq_sa
-
10.3
5.8
1.9
1.6
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 22.7
8.6
13.0
10.2
11.1
10.8
%mom_sa, %qoq_sa
-
4.3
18.2
5.
5.4
3.4
รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย yoy 33.9
9.9
16.9
14.8 17.6
1
14.1
%mom_sa, %qoq_sa
-
-
2.9 21.2
5.5
5.6
อัตราการเข้าพักเฉลี่ย 69.3
75.3
69.9
67.5
69.8
72.
72.2
5
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวแลttกีฬา
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 9 ก.ย 15ก.ย. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 6.4แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 15 ก.ย. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 24.8ล้านคน สร้างรายได้ 1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,851 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากจานวนนักท่องเที่ยวชาวในตลาดระยะใกล้ที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะมาเลเซียที่เพิ่มสูงสุดในรอบ 14 สัปดาห์เนื่องจากเป็นช่วงวันหยุดปิดเทอมและช่วงวันชาติของมาเลเซีย ขณะที่นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเช่นกันตามปัจจัยทางฤดูกาล โดยมาตรการ Ease of
travelingtravelingที่ภาครัฐดาเนินการอยู่ ถือเป็นส่วนสาคัญในการกระตุ้นการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ อย่างไรก็ดี ภาครัฐอาจมีมาตรการส่งเสริมและโปรโมทการท่องเที่ยวในเมืองรองเพื่อลดการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวในเมืองหลักและกระจายรายได้จากภาคการท่องเที่ยวไปสู่จังหวัดอื่น และมาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยว ขณะเดียวกัน ควรกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภาคบริการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในจังหวัดเมืองรอง
ทั้งนี้ สศค. คาดว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. 67)
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2566-13กันยายน 2567พบว่า ณ วันที่ 13 กันยายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 7 21 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน3 89 แสนล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 53.94
1) จานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2567 (วันที่ 14 ก.ย. -30 ก.ย. 2567) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 70 ตามประมาณการของ สศค. อยู่ที่ 1 16 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 222.94
2) จานวนเงินที่ต้องเบิกจ่ายในช่วงที่เหลือของงบประมาณ 2567 (วันที่ 14 ก.ย. -30 ก.ย. 2567) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเบิกจ่ายลงทุนที่ร้อยละ 75 ของกรมบัญชีกลาง อยู่ที่ 1 52แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 28.08
ทั้งนี้จากผลอัตราการเบิกจ่ายการลงทุนที่เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 6 ก.ย. 2567) ที่ร้อยละ 1.99 แต่ยังต่ากว่าที่ควรจะเป็นที่ร้อยละ 4.28จึงควรเร่งรัดการเบิกจ่ายการลงทุนก่อนสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ดังนี้
1) งบกระทรวง ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะกระทรวงที่มีวงเงินขนาดใหญ่ 5 อันดับแรก ได้แก่ กระทรวงคมนาคม (วงเงินลงทุน 1.71 แสนล้านบาท) กระทรวงมหาดไทย (วงเงินลงทุน 1.30แสนล้านบาท) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (วงเงินลงทุน 8.30 หมื่นล้านบาท) กระทรวงกลาโหม (วงเงินลงทุน 4.13 หมื่นล้านบาท) และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (วงเงินลงทุน 2.99หมื่นล้านบาท)
2) งบจังหวัด ควรเร่งรัดการลงทุนโดยเฉพาะจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อขับเคลื่อนให้เม็ดเงินหมุนเวียนสู่จังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ อุดรธานี (วงเงินลงทุน 411.10 ล้านบาท) นครราชสีมา (วงเงินลงทุน 311.58 ล้านบาท) เชียงใหม่ (วงเงินลงทุน 301.17 ล้านบาท) ชลบุรี (วงเงินลงทุน293.78ล้านบาท) และขอนแก่น (วงเงินลงทุน 292.34ล้านบาท)
6
ที่มา กรมบัญชีกลาง คานวณโดย สศค.
ข้อมูล ณ วันที่ 13 ก.ย. 2567
เป้าบัญชีกลางที่ร้อยละ 75
= 5.45.41แสนล้านบาท
รายจ่ายลงทุนรวมทั้งหมด 7 21แสนล้านบาท
เป้าในแบบจาลองที่ร้อยละ 770 = 5.05.05แสนล้านบาท
การเร่งรัดเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนภาครัฐปีงบประมาณ 2567
อัตราการเบิกจ่ายเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า (วันที่ 6ก.ย. 2567) ร้อยละ 1.99แต่ยังต่ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 4.28.
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ผลการประชุมคณะกรรมการกาหนดนโยบายการเงิน (FOMC) ครั้งที่ 6/8ของปี 67ในระหว่างวันที่ 17-18 ก.ย. 67 FOMCFOMCมีมติเอกฉันท์ให้ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอยู่ในช่วงร้อยละ 4.75 -5.00 ต่อปี ลดลงร้อยละ 0.5 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ที่ประชุม FOMCFOMCระบุว่า ตัวชี้วัดล่าสุดชี้ให้เห็นว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แต่การจ้างงานชะลอตัวและอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น แต่ยังคงอยู่ในระดับต่า อัตราเงินเฟ้อมีความคืบหน้าไปสู่เป้าหมายที่ร้อยละ 2แต่ยังคงสูงอยู่บ้าง
ใบอนุญาตการก่อสร้างในสหรัฐ เดือน ส.ค. 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.9 ซึ่งถือเป็นระดับสูงสุดในรอบ 5เดือน และสูงกว่าที่ตลาด
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (8 -14 ก.ย. 67) อยู่ที่ 2.19 แสนราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าและต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.30แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2.31 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
ญี่ปุ่น
ดุลการค้า เดือน ก.ค. 67 ขาดดุล -695.30พันล้านเยน จากการส่งออกที่ขยายตัวร้อยละ 5.6ที่ 8,441.88พันล้านเยน ขณะที่การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 2.3ที่ 9,137.18พันล้านเยน
คาสั่งซื้อเครื่องจักรหลักของญี่ปุ่น (Machinery Orders) ซึ่งไม่รวมคาสั่งซื้อสาหรับเรือและบริษัทพลังงานไฟฟ้า เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 8.7 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -0.1ต่อเดือน) สาเหตุจากการจากการเพิ่มคาสั่งซื้อในภาคที่ไม่ใช่การผลิต
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 3.0 ต่อปี สูงสุดนับจาก ต.ค. 66 จากการเพิ่มขึ้นของราคาไฟฟ้าและก๊าซ (จากการสิ้นสุดของมาตการอุดหนุนราคาพลังงานนับตั้งแต่ พ.ค.67)
อัตราเงินพื้นฐาน เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 ต่อปี สูงสุดนับจาก ก.พ. 67 และเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่สี่ และยืนอยู่เหนือระดับร้อยละ 2 ต่อเนื่องมากว่าสองปี ทั้งนี้ BOJBOJขึ้นอัตราดอกเบี้ยในเดือน มี.ค. และ ก.ค. ขณะเดียวกันก็ส่งสัญญาณว่าจะขึ้นอัตราดอกเบี้ยต่อไป
ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BoJ) มีมติในรอบประชุมเดือน ก.ย. 67 คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ราวร้อยละ 0.25 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่ปี 51 และสอดคล้องกับการคาดการณ์ของตลาด เน้นย้าว่า BOJBOJไม่เร่งรีบที่จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยเพิ่มเติมหลังจากขึ้นอัตราดอกเบี้ยสองครั้งเมื่อเดือน มี.ค. และ ก.ค. ปีนี้
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.6และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
อินเดีย
ดุลการค้า (Balance of Trade) เดือน ส.ค. 67 ขาดดุล 29.7 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการขาดดุล 24พันล้านดอลลาร์ในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขาดดุลมากที่สุดในรอบ 10เดือน
การนาเข้า (Import) เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็น 64.36พันล้านดอลลาร์ ซึ่งเป็นมูลค่าสูงสุดนับตั้งแต่เดือนตุลาคมปีก่อนหน้า
การส่งออก (Export) เดือน ส.ค 67หดตัวร้อยละ 9.3เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เป็น 34.71 พันล้านดอลลาร์ เนื่องจากค่าขนส่งที่เพิ่มขึ้นและการชะลอตัวของจีน
อัตราเงินเฟ้อ (Inflation Rate) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ระดับร้อยละ 2.2 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้และเท่ากับเดือนก่อนหน้า โดยได้แรงหนุนหลักจากค่าโดยสารเครื่องบิน ราคาสินค้าและบริการด้านนันทนาการและวัฒนธรรมและค่าขนส่ง และได้แรงฉุดหลักจากราคาน้ามันเชื้อเพลิง ราคาร้านอาหารและโรงแรม และค่าที่อยู่อาศัยและสาธารณูปโภค
ธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 5.0 ในเดือน ก.ย. 67 หลังจากที่ลดลงร้อยละ 0.25 ในเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นการลดครั้งแรกในรอบกว่า 4 ปี ทั้งนี้ ธนาคารกลางอังกฤษยังคงระมัดระวังในการดาเนินนโยบายการเงิน แม้ว่าจะเริ่มมีสัญญาณของการผ่อนคลายนโยบายบ้างแล้ว โดยยังคงจับตาดูสถานการณ์เงินเฟ้อและการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด
สหราชอาณาจักร
ไต้หวัน
ในการประชุมเดือน ก.ย. 67ธนาคารกลางของไต้หวันได้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 2.00 ซึ่งเป็นไปตามคาดการณ์ของตลาดเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ
การส่งออกสินค้าที่ไม่รวมน้ามัน (NODX) เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 10.7 ต่อปี (หดตัวร้อยละ -4.7 ต่อเดือน) เป็นการขยายตัวต่อปีต่อเนื่องเป็นเดือนที่สอง จากยอดขายที่เพิ่มขึ้นในส่วนของทั้งสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และมิใช่อิเล็กทรอนิกส์
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 67 เกินดุล 5,900.8871 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ เกินดุลต่าสุดนับจาก ม.ค. 63ทั้งนี้ ดุลการค้าในสิงคโปร์เฉลี่ยอยู่ที่ 1,264.72ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ตั้งแต่ปี 07ถึงปี 67
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) ไตรมาส 22ปี 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.0 ลดลงจากร้อยละ 2.1ในไตรมาสก่อนหน้า ท่ามกลางการปรับโครงสร้างธุรกิจ และการจ้างงานเพิ่มขึ้นเครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
การส่งออก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 12.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 11.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นการขยายตัวของการส่งออกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5ทั้งนี้การส่งออกในเดือนนี้ได้รับปัจจัยกดดันจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าในหมวดเหมืองแร่เป็นสาคัญ
การนาเข้า เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 26.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 25.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และนับเป็นการขยายตัวของการนาเข้าต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 10 และเป็นการขยายตัวของการนาเข้ามากที่สุดนับตั้งแต่ ต.ค. 65 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการนาเข้าสินค้าของสินค้าขั้นกลางเป็นสาคัญ
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 67 เกินดุลที่ 5.7 พันล้านริงกิตมาเลเซีย เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 6.4 พันล้านริงกิตมาเลเซีย และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่เกินดุลที่ 10.4 พันล้านริงกิตมาเลเซีย
มาเลเซีย
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาลแล้ว) เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 ลดลงจากร้อยละ 2.5ในเดือนก่อนหน้า
เกาหลีใต้
ธนาคารกลางอินโดนีเซียมีมติปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากร้อยละ 6.25ต่อปี สู่ร้อยละ 6.0ต่อปี
มูลค่าการส่งออก เดือน ส.ค. 67ขยายตัวที่ร้อยละ 7.13จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 20 เดือน โดยได้รับแรงสนับสนุนจากการส่งออกเชื้อเพลิง สินค้าโภคภัณฑ์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ชิ้นส่วน เป็นสาคัญ
มูลค่าการนาเข้า เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.46 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 11.07จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 2.89 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 0.5พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
เยอนมนี
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 67หดตัวร้อยละ -0.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 0.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.4
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และต่ากว่าคาดการณ์ของตลาดที่ร้อยละ 1.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน อัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้อยู่ในระดับต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 64 ซึ่งเป็นผลมาจากการลดลงของอัตราเงินเฟ้อในหมวดพลังงาน เป็นสาคัญ
ฝรั่งเศส
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 6.74 พันล้านยูโร เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 5.15พันล้านยูโร
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่นSTISTI(สิงคโปร์) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ Hang SengSeng(ฮ่องกง) เป็นต้น เมื่อวันที่ 199ก.ย. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,454.8454.84จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 1616-199ก.ย. 67 อยู่ที่559,955.66955.66ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 1616-199ก.ย. 67 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 44,465.81465.81ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11-3 เดือน ปรับตัวลดลง -1 bpsbpsขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 เดือน ถึง 2020ปี ปรับตัวลดลงในช่วง -1 ถึง -7 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 44และ 21 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.96 และ 2.03 เท่าของวงเงินประมูล ตามลาดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่16 -19 ก.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 8,617.618,617.61ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 19ก.ย. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ4,929.24,929.2ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่19 ก.ย. 67เงินบาทปิดที่ 33.33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.24จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ วอน ดอลลาร์ไต้หวัน ดอลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ 0.65
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง