เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจไทยล่าสุด
? สถานการณ์เศรษฐกิจในเดือน ส.ค. 67 ด้านการบริโภคภาคเอกชนยังคงขยายตัวได้ดี โดยสะท้อนจากการ
จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.6 ต่อปี ถึงแม้ว่ายอดขายรถยนต์นั่งจะลดลงร้อยละ -22.6 ต่อปี
ด้านการลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว โดยภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน หดตัวที่ร้อยละ -5.2
ต่อปี ยอดจาหน่ายเหล็กหดตัวร้อยละ -11.9 และรถยนต์เชิงพาณิชย์หดตัวร้อยละ -26.5 ต่อปี และ
ในด้านภาคการท่องเที่ยว จานวนนักท่องเที่ยวในช่วง 23 - 29 กันยายน 2567 อยู่ที่ 592,069 คน ลดลงจาก
สัปดาห์ก่อนหน้า โดยในสัปดาห์มีแนวโน้มลดลงจากจานวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียที่ลดลงหลังจากหมด
ช่วงวันหยุดปิดเทอมในมาเลเซีย รวมทั้งจานวนนักท่องเที่ยวต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้
? ปัจจัยท้าทายหลักที่ส่งผลกระทบเครื่องชี้เศรษฐกิจ ได้แก่ หนี้ครัวเรือนสูง นโยบายสินเชื่อเข้มงวด และ
การชะลอตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ ภาครัฐอาจพิจารณามาตรการแก้ไขปัญหาหนี้ครัวเรือน
ส่งเสริมนโยบายสินเชื่อที่ยืดหยุ่นมากขึ้น และมาตรการกระตุ้นการท่องเที่ยวในเมืองรองเพื่อกระจายรายได้
ทางเศรษฐกิจให้ทั่วถึงมากขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจรายสัปดาห์
สถานการณ์ภาครัฐ
? การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ 2567 ณ สิ้นเดือนกันยายน 2567 อยู่ที่ร้อยละ 65.15
ของวงเงินงบประมาณ โดยผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ต่ากว่าประมาณ
การของ สศค. ที่ร้อยละ 70 และต่ากว่าเป้าของกรมบัญชีกลาง ที่ร้อยละ 75 โดยมีการเบิกจ่ายจริง 4.45
แสนล้านบาท จากวงเงินงบประมาณ 6.82 แสนล้านบาท ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ 2568 ควรมีการติดตามและ
เร่งรัดการเบิกจ่ายอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในหน่วยงานที่มีวงเงินขนาดใหญ่ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย
เร่งรัดการเบิกจ่ายของรัฐบาล นอกจากนี้ ควรเร่งรัดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเพื่อให้สามารถก่อหนี้ผูกพัน
และเบิกจ่ายได้ทันภายในปีงบประมาณ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ส.ค. 677ขยายตัวที่ร้อยละ 9.6ต่อปี และขยายตัวเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ที่ร้อยละ 2.1
โดยภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ จากจัดเก็บในค่าการใช้จ่ายภายในประเทศขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 13.8 (%YoY) ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า จากการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคในประเทศแข็งแกร่งขึ้น ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าพลิกกลับมาขยายตัวในเกณฑ์สูงที่ร้อยละ 4.9 (%YoY)
จากสถานการณ์การนาเข้าสินค้าที่ขยายตัวได้แม้จะมีแนวโน้มชะลอลงในเดือนที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในเกณฑ์สูง ยังคงเป็นปัจจัยสาคัญที่สร้างแรงกดดันต่อการบริโภคของประชาชนในระยะต่อไป
ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ส.ค.6767หดตัวที่ร้อยละ 5.25.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ 1.61.6เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ส.ค. 6767หดตัวจากช่วงเดือนเดียวกันของปีก่อน โดยมีปัจจัยมาจากอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยที่ยังเติบโตในระดับต่า ปัญหาหนี้ครัวเรือนส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อและอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ในส่วนมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคธุรกิจอสังหาฯของภาครัฐจะมีส่วนช่วยผู้ประกอบการ
4
Indicators
(%
yoy
2023
2024
ทั้งปี
Q1
Q2
July
Aug
YTD
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์
-
2.4 -
11.5 -
4.1 7.1
-
5.2 -
5.8
%mom_sa,
%qoq_sa
-
9.7
0.9
1.8
-
1.6
Indicators
(%yoy)
2023
2024
ทั้งปี
Q1
Q2
July
Aug
YTD
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่
-
1.7 0.8
3.6
11.3
9.6
4.1
%mom_sa,
%qoq_sa
0.5
1.3
0.0
2.2
0.5
113.7
111.18
102.0
70.0
80.0
90.0
100.0
110.0
120.0
130.0
Feb-20
May-20
Aug-20
Nov-20
Feb-21
May-21
Aug-21
Nov-21
Feb-22
May-22
Aug-22
ภาษีมูลค่าเพิ่มโดยรวม
จัดเก็บในประเทศ
จัดเก็บจากการนาเข้า
2021
100 (SA)
Sources:
กองนโยบายการคลัง สศค
ภาษีมูลค่าเพิ่มณ ระดับราคาคงที่ (RealVATRealVAT)
SA:
ปรับฤดูกาลSeasonally Adjusted
98.3
40.0
60.0
80.0
100.0
120.0
140.0
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Jul-23
Oct-23
Jan-24
Apr-24
Jul-24
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์
Index_sa
2019 100
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ส.ค. 67 มีจานวน 18,305 18,305 คัน หดตัวลงร้อยละ -22.6เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ-0.2
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลหดตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7โดยได้รับปัจจัยกดดันจากความเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง รวมถึงปัญหาการแข่งขันลดราคาของผู้ประกอบการค่ายรถยนต์ต่าง ๆ ทาให้ผู้บริโภคชะลอการซื้อรถยนต์ออกไป อย่างไรก็ดี รายได้เกษตรกรที่ปรับตัวดีขึ้นจากราคาสินค้าเกษตรหลายรายการที่มีราคาเพิ่มขึ้น และตลาดแรงงานที่ยังคงแข็งแกร่ง ยังคงเป็นปัจจัยสนับสนุนสาคัญที่ช่วยส่งเสริมการบริโภคของประชาชนและส่งผลให้แนวโน้มการบริโภคยังคงอยู่ในทิศทางที่ดีในระยะต่อไป
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ส.ค. 6767มีจานวน 26,88526,885คัน หดตัวที่ร้อยละ
26.526.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวลงที่ร้อยละ 0.50.5ในส่วนปริมาณจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน หดตัวร้อยละ 39.239.2เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ส.ค. 67 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งลดลงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2121และหดตัวจากเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาลที่ร้อยละ 0.50.5เนื่องจากเศรษฐกิจที่เติบโตได้ต่า อัตราดอกเบี้ยอยู่ในระดับสูง รวมทั้งปัญหาหนี้เสียส่งผลให้สถาบันการเงินมีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ
5
Indicators
(%yoy)
2023
2024
ทั้งปี
Q1
Q2
July
Aug
YTD
ยอดขายรถยนต์ เชิงพาณิชย์
-
17.3 -
29.7 -
23.6 -
16.9 -
26.5 -
25.8
%mom_sa,
%qoq_sa
-
-
3.1 0.1
5.7
-
0.5 -
Indicators
(%yoy)
2023
2024
ทั้งปี
Q1
Q2
July
Aug
YTD
ยอดขายรถยนต์นั่ง
10.3
-
15.3 -
23.8 -266.4
-
22.6
-
20.6
%mom_sa,
%qoq_sa
-
1.2
-
14.1 2.6
-0.2
-
90.42
40.00
60.00
80.00
100.00
120.00
140.00
160.00
180.00
Jan-20
Dec-20
Nov-21
Oct-22
Sep-23
Aug-24
Index
sa 2021 100 ) Passengercar_SA
66.1
40.0
60.0
80.0
100.0
120.0
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Jul-23
Oct-23
Jan-24
Apr-24
Jul-24
ปริมาณจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์
Index_SA
2019 100
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
?วันที่ 23 2929ก.ย. 67 มีจานวนนักท่องเที่ยว 592,069592,069แสนคน โดยมีแนวโน้มลดลงจากสัปดาห์ก่อนจากการสิ้นสุดวัดหยุดปิดเทอมในประเทศมาเลเซีย โดยจานวนนักท่องเที่ยวเดือน ก.ย. 67 ต่ากว่าที่ สศค. ประเมินไว้ โดยเดือน ก.ย. 67 สศค. คาดการณ์ว่าจะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาทั้งสิ้น 2.7 ล้านคน?
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย วันที่ 9 ก.ย 15ก.ย. 67มีจานวนนักท่องเที่ยว 5.9แสนคน และตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 15 ก.ย. 67 (YTD) มีจานวนทั้งสิ้น 26.0ล้านคน สร้างรายได้ 1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่าย/คน/ทริป ที่ 46,709 บาท โดยในช่วงที่ผ่านมาจานวนนักท่องเที่ยวรายสัปดาห์มีแนวโน้มลดลง จากจานวนนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียที่ลดลงหลังจากหมดช่วงวันหยุดปิดเทอมในมาเลเซีย อย่างไรก็ดีจานวนนักท่องเที่ยวชาวจีนและอินเดียมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการเริ่มเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวอินเดีย เช่นเดียวกับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดระยะไกล อาทิ เยอรมนี และสหราชอาณาจักร โดยมาตรการ Ease of
travelingtravelingที่ภาครัฐดาเนินการอยู่ ถือเป็นส่วนสาคัญในการกระตุ้นการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ อย่างไรก็ดี ภาครัฐอาจมีมาตรการส่งเสริมและโปรโมทการท่องเที่ยวในเมืองรองเพื่อลดการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวในเมืองหลักและกระจายรายได้จากภาคการท่องเที่ยวไปสู่จังหวัดอื่น และมาตรการเพิ่มการใช้จ่าย/คน/ทริป ของนักท่องเที่ยว
ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวยังมีแนวโน้มเป็นไปตามที่จากจานวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในช่วง High Season โดย สศค. คาดการณ์ว่าปี 67 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามา 36.0 ล้านคน สร้างรายได้ 1.2ล้านล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อคนต่อทริปที่ 47,000 บาท (คาดการณ์ ณ เดือน ก.ค. 67
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2567ตั้งแต่วันที่ 1ตุลาคม 2566-30กันยายน 2567พบว่า ณ สิ้นเดือน กันยายน 2567 วงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนหลังโอนเปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 6.82 แสนล้านบาท เบิกจ่ายได้ที่จานวน4.45 แสนล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 65.15
ทั้งนี้ จากผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (ณ สิ้นเดือน กันยายน 25672567) มีรายละเอียด ดังนี้
1
1) ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน เบิกจ่ายได้ที่จานวน 4.45แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 65.15ต่ากว่าประมาณการของ สศค. ที่ร้อยละ 70 อยู่ที่ร้อยละ 4.85 เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 33.07หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.92
2) ผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน เบิกจ่ายได้ที่จานวน 4.45แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 65.15ต่ากว่าเป้าของกรมบัญชีกลาง ที่ร้อยละ 75 อยู่ที่ร้อยละ 9.85 เป็นจานวนเงินทั้งสิ้น 67.19หมื่นล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 13.13
โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2568ควรมีการติดตามการเบิกจ่ายรายจ่ายของงบกระทรวงและงบจังหวัดเป็นรายสัปดาห์ โดยเฉพาะกระทรวงและจังหวัดที่มีวงเงินขนาดใหญ่ นอกจากนี้ ควรติดตามเร่งรัดให้หน่วยรับงบประมาณดาเนินการ และเตรียมการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เพื่อให้หน่วยงานของรัฐสามารถดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้อย่างรวดเร็ว สามารถก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายเงินได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ สอดคล้องกับนโยบายเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินของรัฐบาล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
46.20
57.15
70.00
47.60
60.50%
75.00%
3.39%
4.73
6.00
7.55
9.09
10.84
13.63%
27.16%
36.70%
42.36
49.88
65.15
0%
25%
50%
75%
100%
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
เป้าการเบิกจ่าย 70%
เป้าการเบิกจ่าย 75%
อัตราเบิกจ่ายสะสม
เป้าในแบบจาลองที่ร้อยละ 770 = 4.78แสนล้านบาท
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
7
ที่มา กรมบัญชีกลาง คานวณโดย สศค.
ข้อมูล ณ สิ้นเดือน ก.ย. 2567
เป้าบัญชีกลางที่ร้อยละ 75
= 5.5.12แสนล้านบาท
รายจ่ายลงทุนรวมทั้งหมด 6.82แสนล้านบาท
การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
อัตราการเบิกจ่าย อยู่ที่ร้อยละ 65.15
แต่ยังต่ากว่าที่ควรจะเป็น ที่ร้อยละ 4.85
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน ส.ค. 677เกินดุลที่ 1,361.69ล้านดอลลาร์สหรัฐเกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 120.31ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน ส.ค. 677ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่-1,080.74ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่2,442.43ล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 677เกินดุลรวม 4,771.89ล้านดอลลาร์สหรัฐ
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน ส.ค. 677มียอดคงค้าง 20.20.54 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน ส.ค. 677มียอดคงค้าง 224.97 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือหดตัวที่ร้อยละ -0.2จากเดือนก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอสินเชื่อพบว่าสินเชื่อเพื่อธุรกิจ และสินเชื่อเพื่อการบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 0.2 และ 0.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ตามลาดับ
หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ -0.4จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากในธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 1.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ เงินฝากในสถาบันการเงินเฉพาะกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 3.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ TradingeconomicsTradingeconomicsรวมรวบโดย สศค.
ดัชนี PMIPMIภาคการผลิต (ของ ISM) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ 47.2 จุดคงที่จากเดือนก่อนหน้าต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์เล็กน้อยที่ 47.5จุด
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (ของ ISM) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ 54.9 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 51.5จุด สูงกว่าที่ตลาดคาดที่ 51.7จุด
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (21 -28 ก.ย. 67) อยู่ที่ 2.25 แสนราย เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าและสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 2.20แสนราย ทั้งนี้ จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (four week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าเล็กน้อยมาอยู่ที่ 2.24 แสนราย
สหรัฐอเมริกา
จีน
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ (Caixin) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.6จุด ซึ่งต่ากว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ 51.5จุด เนื่องจากยอดคาสั่งซื้อใหม่ขยายตัวในอัตราที่ช้าสุดในรอบเกือบหนึ่งปี
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 49.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.4จุด ซึ่งต่ากว่าการคาดการณ์ของตลาดที่ 50.5จุด และเป็นระดับต่าสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 66เนื่องจากมีการกลับมาชะลอตัวอีกครั้งในคาสั่งซื้อใหม่
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.2และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.9
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 45.0 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 45.8จุด แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 44.8จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 6.4 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าและเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 52.9จุด แต่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 50.5จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 36.9 แพิ่มขึ้นจากระดับ 36.7 ในเดือนก่อนหน้า และเป็นระดับสูงสุดนับจาก เม.ย. 67
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 67อยู่ที่ร้อยละ 2.5ชะลอลงจากร้อยละ 2.7ในเดือนก่อนหน้า
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 2.8 ต่อปี (ร้อยละ 0.8 ต่อเดือน) เร่งขึ้นจากร้อยละ 2.7ต่อปี ในเดือนก่อนหน้า สะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 29
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคการผลิต (final) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ 49.7 ลดลงจากระดับ 49.8ในเดือนก่อนหน้า บ่งชี้การลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่สามของกิจกรรมโรงงาน และลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่เจ็ดของภาคการผลิต
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (Jibun Bank PMI) ภาคบริการ (final) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ 53.1 ต่าสุดในรอบสามเดือน แต่ยังสะท้อนการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่สามของภาคบริการ
สหราชอาณาจักร
GDP
GDPไตรมาสที่ 2 ปี 67 ขยายตัวร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับในระยะเดียวกันของปีก่อนหน้า เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 0.3 และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ร้อยละ 0.9 แต่ยังเป็นการขยายตัวที่สูงที่สุดตั้งแต่ไตรมาส 3 ปี 2565 โดยได้แรงหนุนหลักจากการใช้จ่ายของภาครัฐ
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ไตรมาสที่ 2 ปี 67 ขาดดุล 28.4 พันล้านดอลลาร์ปอนด์ หรือคิดเป็นร้อยละ 4 ของ GDPGDPขาดดุลเพิ่มขึ้นจาก 13.8พันล้านดอลลาร์ปอนด์ในไตรมาสก่อน โดยได้แรงฉุดหลักจากดุลการค้าขาดดุลเพิ่มขึ้นเป็น 53พันล้านปอนด์ เนื่องจากการนาเข้าเพิ่มขึ้น 8.2พันล้านปอนด์ ขณะที่การส่งออกเพิ่มขึ้นเพียง 0.8พันล้านปอนด์
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (S&P Global Manufacturing PMI) (final) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 51.5 ลดลงจากระดับ 52.5 ในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 51.5 โดนได้แรงหนุนหลักจากการภาคอุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของคาสั่งซื้อใหม่และผลผลิต
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการบริการ (S&P Global Services PMI) (final) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 52.4 ลดลงจากระดับ 53.7 ในเดือนก่อนหน้า และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 52.8 โดยยังได้แรงหนุนหลักจากการภาคอุปสงค์ในประเทศ โดยเฉพาะภาคเทคโนโลยีและอสังหาริมทรัพย์
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 49.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ49.7 ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4และเป็นระดับดัชนีที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67อันเนื่องจากกิจกรรมการซื้อขายลดลงในอัตราที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ มี.ค. 67
มาเลเซีย
สิงคโปร์
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (SIPMM PMI) ภาคการผลิต เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 48.3 ลดลงจากระดับ 50.9ในเดือนก่อนหน้า เป็นการหดตัวครั้งแรกนับจาก ส.ค. 66
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (S&P Global) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 56.6 ขยายตัวน้อยสุดในรอบสามเดือนของกิจกรรมภาคเอกชน จากการชะลอลงของคาสั่งซื้อใหม่และผลผลิต
ไต้หวัน
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 51.5 จุด ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับสูงกว่า 50 บ่งชี้การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6แต่เป็นการขยายตัวในอัตราที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เม.ย. 67อันเนื่องจากผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่เพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง
เวียดนาม
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 47.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 52.4 จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (Industrial Production) เดือน ส.ค. 67ขยายตัวร้อยละ 3.8ต่อปี (ร้อยละ 4.1ต่อเดือน)
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวร้อยละ 1.7 จากเดือนก่อนหน้า สูงสุดนับจาก ก.พ. 66
ดุลการค้า เดือน ก.ย. 67 เกินดุล 6.66 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 16 โดยการส่งออกขยายตัวร้อยละ 7.5 ต่อปี ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12จากการสั่งซื้อเซมิคอนดักเตอร์ ขณะที่ การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 2.2ต่อปี
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.6 ต่อปี (ร้อยละ 0.1 ต่อเดือน) ต่าสุดนับจาก ก.พ. 64 และต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อเนื่องเป็นเดือนที่หก ซึ่ง BOKBOKอาจมีการเริ่มลดอัตราดอกเบี้ยได้ในเร็ว ๆ นี้
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account) ไตรมาสที่ 2 ปี 67 ขาดดุล 9.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เปลี่ยนจากเกินดุล 5.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐในไตรมาสก่อน เนื่องจากการขาดดุลเพิ่มขึ้นแอย่างมากของการค้าสินค้าโภคภัณฑ์
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคการผลิต (HSBC India Manufacturing PMI) (final) เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 56.5 ลดลงจากระดับ 57.5 ในเดือนก่อนหน้า และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ที่ระดับ 56.7เนื่องจากการขยายตัวที่ชะลอตัวลงในกิจกรรมภาคโรงงานตั้งแต่เดือน ม.ค. 67โดยเฉพาะผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 46.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 48.5จุด โดยดัชนียังคงต่ากว่าระดับ 50จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงภาคอุตสาหกรรมของออสเตรเลียยังคงหดตัว
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.5จุด โดยดัชนียังคงสูงกว่าระดับ 50จุด ซึ่งบ่งชี้ถึงภาคบริการของออสเตรเลียยังคงขยายตัว
ยอดค้าปลีก เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.11 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.39จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ได้รับแรงหนุนจากสภาพอากาศที่อุ่นขึ้น และการใช้จ่ายที่สูงขึ้นเนื่องจากกิจกรรมลดราคาวันพ่อ
มูลการการส่งออกสินค้า เดือน ส.ค. 67หดตัวที่ร้อยละ -7.41จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -2.71 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการชะลอตัวของยอดส่งออกทองคาในรูปแบบ non monetary gold
มูลค่าการนาเข้า เดือน ส.ค. 67 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.43 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.94จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ส.ค. 67 เกินดุลที่ระดับ 5.64 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกิดดุลที่ระดับ 5.63พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
ตราเงินเฟ้อ เดือน ส.ค. 67 อยู่ที่ร้อยละ 1.84 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.12จากช่วงเดียวกันของปีก่อน นับเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน พ.ย. 64
อัตราเงินเฟ้อ (เบื้องต้น) เดือน ก.ย. 67อยู่ที่ระดับร้อยละ 0.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 48.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.4จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.4จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 67 อยู่ทีร้อยละ 6.2 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.4ของกาลังแรงงานรวม
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 40.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 42.4จุด แต่อยู่สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 40.3จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 51.2จุด และเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม (PMI) final เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 44.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 43.9 จุด และต่ากว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 44.0 จุดเล็กน้อย ทั้งนี้ดัชนีอยู่ในระดับต่ากว่า 50 บ่งชี้การหดตัวของภาคอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 20 และเป็นการหดตัวของดัชนีที่มากที่สุดนับตั้งแต่ ม.ค. 67 อันเนื่องจากผลผลิตและยอดคาสั่งซื้อใหม่ที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง
ฝรั่งเศส
อัตราเงินเฟ้อ (เบื้องต้น) เดือน ก.ย. 67อยู่ที่ระดับร้อยละ 0.7เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 48.3 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.4จุด โดยดัชนีอยู่ต่ากว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 50.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.4จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
อัตราการว่างงาน เดือน ส.ค. 67 อยู่ทีร้อยละ 6.2 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.4ของกาลังแรงงานรวม
อิตาลี
สเปน
ดัชนี PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 53.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 50.5จุด และสูงกว่าคาดการณ์ตลาดที่ระดับ 50.1จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
ดัชนี PMIPMIภาคบริการ เดือน ก.ย. 67 อยู่ที่ระดับ 57.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 54.6จุด และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ที่ระดับ 54.0จุด โดยดัชนีอยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด บ่งชี้ทิศทางการขยายตัวของภาคบริการ
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่นๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่นPSEiPSEi(ฟิลิปปินส์) NikkeiNikkei225 (ญี่ปุ่น) และ IDXIDX(อินโดนีเซีย) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3ต.ค. 67ดัชนีปิดที่ระดับ 1,442.73 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 30 ก.ย. 67 ถึง3 ต.ค. 67 อยู่ที่555,244.29 ล้านบาทต่อวันโดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ และนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ระหว่างวันที่ 30ก.ย. 67ถึง 3ต.ค. 67นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -10,806.90ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 11เดือน ถึง 1 ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวลดลงในช่วง -2 ถึง -3 bpsbpsขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 ถึง 2020ปี ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนไม่มีการประมูลพันธบัตรรัฐบาล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่30 ก.ย. 67 ถึง 3 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -11,328.76 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 3 ต.ค. 67 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ-16,824.63 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่3 ต.ค. 67เงินบาทปิดที่ 33.05บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -1.11จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิตเปโซ และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลวอน ดอลลาร์ไต้หวัน และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ส่วนใหญ่ในภูมิภาคส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อยู่ที่ร้อยละ -0.66
ที่มา: กระทรวงการคลัง